The happiness at work of staffs in one of tertiary hospitals
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 78 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Naphatchan Mongkhonpan The happiness at work of staffs in one of tertiary hospitals. Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93259
Title
The happiness at work of staffs in one of tertiary hospitals
Alternative Title(s)
ความสุขในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง
Author(s)
Abstract
This research aimed to 1) examine the level of happiness at work of staffs at Prapokklao Hospital 2) compare the level of happiness at work of the staffs at Prapokklao Hospital by selected variables, and 3) investigate relationships between 11 domains of the happiness at work. 311 staffs who were working at Prapokklao Hospital were asked to complete a questionnaire asking for their demographic data, happiness at work and job satisfaction as well as their opinion about factors that influence work happiness or job satisfaction. Descriptive statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation, as well as One-way Analysis of Variance, Pearson's Product-Moment Correlation, and stepwise multiple regression, were analyzed. Results showed that an overall happiness at work, along with most of the 11 domains of the happiness at work were in moderate level. High levels of happiness at work were found in 'Responsibility,' 'Job Security' and 'Interpersonal relationship with colleagues' domains. The line of work played a role in the level of happiness at work. Sample who work in service line reported the significantly lower level of happiness when compared to other line works (p=.05). Pearson's Product-Moment Correlation analysis showed positive relationships between the 11 domains of work happiness (Cronbach's alpha ranged from .12 to .65). Additionally, result from multiple regression analysis revealed that working conditions, achievement, job security, interpersonal relationship with peers, responsibility, organization policy and administration, salary and the work itself, all together significantly explained 60.9% of total variance of work happiness (r2=.61, p=.05).
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความสุขในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลพระปกเกล้า 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความสุขในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลพระปกเกล้าตามปัจจัยคัดสรร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสุขในการทำงานในแต่ละด้าน ศึกษาในบุคลากรของโรงพยาบาลพระปกเกล้าจำนวน 311 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วนได้แก่ 1) ข้อคำถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบ 2) แบบสอบถามความสุขหรือความพึงพอใจในการทำงาน 3) แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อความสุขหรือความพึงพอใจในการทำงานเพิ่มเติม การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way Analysis of Variance: ANOVA) วิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบ Pearson's Product-Moment Correlation ค่าอำนาจการพยากรณ์วิเคราะห์โดย Stepwise multiple regression ผลการศึกษา พบว่าระดับความสุขในการทำงานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง คะแนนความสุขรายด้านส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นด้านความรับผิดชอบ ความมั่นคงปลอดภัย และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานที่อยู่ในระดับสูง ปัจจัยด้านสายงานมีความเกี่ยวข้องต่อความสุขในการทำงานที่แตกต่างกัน บุคลากรในสายงานบริการมีระดับความสุขในการทำงานน้อยกว่าสายงานอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.05) ความสุขในการทำงานรายด้านทั้ง 11 ด้านมีความสัมพันธ์กันทางบวก โดยด้านสภาพการทำงาน ความสำเร็จในงาน ความมั่นคงปลอดภัย ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ความรับผิดชอบ นโยบายและการบริหาร เงินเดือน และลักษณะงานที่ปฏิบัติ สามารถร่วมกันทำนายความสุขในการทำงานโดยรวมได้ร้อยละ 60.9 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความสุขในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลพระปกเกล้า 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความสุขในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลพระปกเกล้าตามปัจจัยคัดสรร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสุขในการทำงานในแต่ละด้าน ศึกษาในบุคลากรของโรงพยาบาลพระปกเกล้าจำนวน 311 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วนได้แก่ 1) ข้อคำถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบ 2) แบบสอบถามความสุขหรือความพึงพอใจในการทำงาน 3) แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อความสุขหรือความพึงพอใจในการทำงานเพิ่มเติม การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way Analysis of Variance: ANOVA) วิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบ Pearson's Product-Moment Correlation ค่าอำนาจการพยากรณ์วิเคราะห์โดย Stepwise multiple regression ผลการศึกษา พบว่าระดับความสุขในการทำงานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง คะแนนความสุขรายด้านส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นด้านความรับผิดชอบ ความมั่นคงปลอดภัย และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานที่อยู่ในระดับสูง ปัจจัยด้านสายงานมีความเกี่ยวข้องต่อความสุขในการทำงานที่แตกต่างกัน บุคลากรในสายงานบริการมีระดับความสุขในการทำงานน้อยกว่าสายงานอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.05) ความสุขในการทำงานรายด้านทั้ง 11 ด้านมีความสัมพันธ์กันทางบวก โดยด้านสภาพการทำงาน ความสำเร็จในงาน ความมั่นคงปลอดภัย ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ความรับผิดชอบ นโยบายและการบริหาร เงินเดือน และลักษณะงานที่ปฏิบัติ สามารถร่วมกันทำนายความสุขในการทำงานโดยรวมได้ร้อยละ 60.9 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Description
Clinical Psychology (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Clinical Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University