A study of job satisfaction factors and participation or non-participation in early retirement program of the Army Officers in Bangkok
Issued Date
2002
Copyright Date
2002
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 127 leaves
ISBN
9740510566
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.A. (Population Education))--Mahidol University, 2002
Suggested Citation
Rujirek Boonsiri A study of job satisfaction factors and participation or non-participation in early retirement program of the Army Officers in Bangkok. Thesis (M.A. (Population Education))--Mahidol University, 2002. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/107349
Title
A study of job satisfaction factors and participation or non-participation in early retirement program of the Army Officers in Bangkok
Alternative Title(s)
การศึกษาปัจจัยความพึงพอใจในงานกับการเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนดของข้าราชการทหาร สังกัดกองทัพบก ในเขตกรุงเทพมหานคร
Author(s)
Abstract
The research was designed as a survey, which aimed to study job satisfaction
factors, extrinsic factors and intrinsic factors related to participation or non-
participation in early retirement programs by army officers in Bangkok. The data were collected through the use of a questionnaire developed by the researcher. The data were analyzed by using the following statistics: Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation and chi-square. It was found that job satisfaction factors and intrinsic factors were not related to participation or non-participation in early retirement programs of the extrinsic
factors of job satisfaction, there were three aspects of fourteen that were statistically significantly related to participation or non-participation in early retirement program at the low level. The personal factors statistically significantly related to participation or non-participation in early retirement programs were sex (male > female), age (under 25 years old > over 25 years old), rank (equivalency between Major-Colonel, 1st Master Sergeant-3"d Master Sergeant), year of service (equivalency at 20-30 years. Additionally, in participant groups, the combat supports were larger than the combat officers. But in non-participant group, the combat officers were larger. On the
character of job, there were equivalencies between administrative jobs in both groups. According to the study, the Royal Thai Army needs further study in early retirement programs for army officers to find out method of developing in this program. To reasonably retain qualified long-term officers, other factors that affect or are involved in the early retirement program should be studied.
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยความพึงพอใจในงานโดยรวม ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของความพึงพอใจในงานกับการเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนดของข้าราชการทหาร สังกัดกองทัพบก ในเขตกรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sample) จากหน่วยงานของกองทัพบกที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 337 คน เก็บรวบรวมข้อ มูลโดยใช้ แบบสอบถาม แล้วนำมาวิเคราะห์ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยความพึงพอใจในงานโดยรวม และปัจจัยภายในความพึงพอใจในงาน ไม่มีความสัมพันธ์เข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด และปัจจัยภายนอกความพึงพอใจในงานรายด้าน จำนวน 3 ด้านจากจำนวนทั้งหมด 14 ด้าน คือ ความก้าวหน้าในการทำงาน, สถานภาพทางสังคมและการ บริการสังคมมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและอยู่ในระดับต่ำ และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด พบว่า ตัวแปรด้าน เพศ พบว่า เพศชายมากกว่าเพศหญิงทั้งกลุ่มที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการฯ, อายุ พบว่าอยู่ในกลุ่มอายุต่ำกว่า 50 ปี ทั้งกลุ่มที่เข้าร่วม และ ไม่เข้าร่วมโครงการฯ,ชั้นยศ พบว่า กลุ่มที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มระดับชั้นพันตรีถึงพันเอก และ จ่าสิบตรีถึงจ่าสิบเอก แต่ในกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่จะอยู่ในระดับจ่าสิบตรีถึงจ่าสิบเอก, อายุราชการ ส่วนใหญ่มีอายุราชการระหว่าง 20-30 ปี ทั้งกลุ่มที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการฯ, หน่วยที่ปฏิบัติงานกลุ่มที่เข้าร่วม โครงการฯ ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ที่ปฏิบัติงานอยู่ในส่วนสนับสนุนการรบ และ กลุ่มที่ไม่เข้าร่วม โครงการ ฯ ส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มกำลังรบ และลักษณะงานที่รับผิดชอบ ส่วนใหญ่จะปฏิบัติหน้าที่ด้านงานธุรการทั้งกลุ่มที่เจ้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการฯ จากการศึกษาครั้งนี้ จะเป็นแนวทางให้กองทัพบกทำการศึกษาในอนาคต เพื่อแก้ไขปรับปรุงแนวทาง การบริหารงานขององค์การให้มีความเหมาะสม และสามารถธำรงรักษากำลังพลที่มี คุณภาพให้อยู่ในหน่วยงานต่อไป รวมทั้งศึกษาปัจจัยอื่นที่อาจมีอิทธิพลต่อโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยความพึงพอใจในงานโดยรวม ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของความพึงพอใจในงานกับการเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนดของข้าราชการทหาร สังกัดกองทัพบก ในเขตกรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sample) จากหน่วยงานของกองทัพบกที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 337 คน เก็บรวบรวมข้อ มูลโดยใช้ แบบสอบถาม แล้วนำมาวิเคราะห์ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยความพึงพอใจในงานโดยรวม และปัจจัยภายในความพึงพอใจในงาน ไม่มีความสัมพันธ์เข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด และปัจจัยภายนอกความพึงพอใจในงานรายด้าน จำนวน 3 ด้านจากจำนวนทั้งหมด 14 ด้าน คือ ความก้าวหน้าในการทำงาน, สถานภาพทางสังคมและการ บริการสังคมมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและอยู่ในระดับต่ำ และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด พบว่า ตัวแปรด้าน เพศ พบว่า เพศชายมากกว่าเพศหญิงทั้งกลุ่มที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการฯ, อายุ พบว่าอยู่ในกลุ่มอายุต่ำกว่า 50 ปี ทั้งกลุ่มที่เข้าร่วม และ ไม่เข้าร่วมโครงการฯ,ชั้นยศ พบว่า กลุ่มที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มระดับชั้นพันตรีถึงพันเอก และ จ่าสิบตรีถึงจ่าสิบเอก แต่ในกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่จะอยู่ในระดับจ่าสิบตรีถึงจ่าสิบเอก, อายุราชการ ส่วนใหญ่มีอายุราชการระหว่าง 20-30 ปี ทั้งกลุ่มที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการฯ, หน่วยที่ปฏิบัติงานกลุ่มที่เข้าร่วม โครงการฯ ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ที่ปฏิบัติงานอยู่ในส่วนสนับสนุนการรบ และ กลุ่มที่ไม่เข้าร่วม โครงการ ฯ ส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มกำลังรบ และลักษณะงานที่รับผิดชอบ ส่วนใหญ่จะปฏิบัติหน้าที่ด้านงานธุรการทั้งกลุ่มที่เจ้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการฯ จากการศึกษาครั้งนี้ จะเป็นแนวทางให้กองทัพบกทำการศึกษาในอนาคต เพื่อแก้ไขปรับปรุงแนวทาง การบริหารงานขององค์การให้มีความเหมาะสม และสามารถธำรงรักษากำลังพลที่มี คุณภาพให้อยู่ในหน่วยงานต่อไป รวมทั้งศึกษาปัจจัยอื่นที่อาจมีอิทธิพลต่อโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด
Description
Population Education (Mahidol University 2002)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Population Education
Degree Grantor(s)
Mahidol University