Mode choice behaviour model for public transportation system development in Salaya district

dc.contributor.advisorRonnachai Sirovetnukul
dc.contributor.advisorSiradol Siridhara
dc.contributor.advisorIttichote Chuckpaiwong
dc.contributor.authorHarutairat Jantakard, Acting Sub. Lt.
dc.date.accessioned2024-01-11T01:39:01Z
dc.date.available2024-01-11T01:39:01Z
dc.date.copyright2018
dc.date.created2018
dc.date.issued2024
dc.descriptionIndustrial Engineering (Mahidol University 2018)
dc.description.abstractThis research aimed to study individual mode choice behavior for public transportation system development. New public transportation system offer to create a transportation mode shift in Salaya district, Nakhon Pathom Province. A survey was carried out among private and public transportation users based on the stated preference (SP) technique. The questionnaires were designed to test the sensitivity of the four key attributes influencing traveler's mode choice i.e. fare, in-vehicle travel time, wait time, and access time. A logistic regression analysis was used for model calibration to bring new public transportation demand forecast in the last stage of the study. Based on multinomial logit model, access time is unlikely to influence mode choice of Salaya travellers. The persons travelling within the study area using private mode were most sensitive to fare. In-vehicle travel time and wait time came second and third in terms of sensitivity. In-vehicle travel time was the most sensitive attribute for internal public transportation trips, followed by fare, and wait time. Fare and access time were two the most sensitive attributes for the external trips of both modes. This research could reveal the best scenario to discover the characteristics for new public transportation service as follows: initial fare of 4 baht plus additional charge of 1 baht per kilometre and wait time for 5 minutes. A total number of trips on new public transportation was 15,261, which is 46.07% of the total number of trips per day in Salaya district. Moreover, it reduces the number of car usage from 72.20% to 38.94%, since private commuters would shift to new public transportation system.
dc.description.abstractงานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมทางเลือกสำหรับการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ ด้วยการเสนอรูปแบบการเดินทางใหม่ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการขนส่งในตำบลศาลายา จังหวัดนครปฐม การสำรวจได้ดำเนินการกับผู้ที่เดินทางด้วยรูปแบบส่วนบุคคลและการขนส่งสาธารณะ โดยใช้เทคนิคการจำลองสถานการณ์สมมุติ ชุดของแบบสอบถามได้รับ การออกแบบมาเพื่อทดสอบการตอบสนองต่อ 4 คุณลักษณะสำคัญ ที่มีอิทธิพลต่อการเลือกรูปแบบการเดินทาง นั้นคือ ค่าโดยสาร เวลาที่ใช้เดินทางบนยานพาหนะ เวลารอ และเวลาเข้าถึง การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ถูกนำมาใช้ทดสอบความถูกต้องของแบบจำลอง เพื่อนำไปสู่การ พยากรณ์ความต้องการเดินทางด้วยรูปแบบการเดินทางใหม่ในขั้นตอนสุดท้ายของการศึกษา ผลการประเมินแบบจำลองหลายทางเลือก พบว่า เวลาเข้าถึงไม่มีอิทธิพลต่อการเลือกรูปแบบการเดินทางของผู้เดินทางในตำบลศาลายา ผู้เดินทางที่ใช้รูปแบบการเดินทางส่วนบุคคลภายในพื้นที่ศึกษาให้ความสำคัญกับค่าโดยสารเป็นอันดับแรก เวลาที่ใช้เดินทางบนยานพาหนะและเวลารอมีความไวต่อการตอบสนองมาเป็นอันดับสองและอันดับสาม เวลาที่ใช้เดินทาง บนยานพาหนะคือคุณลักษณะความสำคัญที่สุด สำหรับการเดินทางด้วยการขนส่งสาธารณะ ภายในพื้นที่ และค่าโดยสารและเวลารอ ตามลำดับ ค่าโดยสารและเวลาเข้าถึงคือสองคุณลักษณะ ที่มีความสำคัญกับการเดินทางไปยังภายนอกพื้นที่สำหรับทั้งสองรูปแบบการเดินทาง งานวิจัยนี้สามารถสรุปสถานการณ์จำลองที่ดีที่สุดเพื่อค้นหาคุณลักษณะการบริการรูปแบบการเดินทางใหม่ที่ ค่าโดยสารเริ่มต้น 4 บาท ในกิโลเมตรถัดไป 1 บาทต่อกิโลเมตร และ เวลารอ 5 นาที จำนวนการเดินทางด้วยรูปแบบการเดินทางใหม่กว่า 15,261 การเดินทาง ซึ่งคิดเป็น 46.07% ของจำนวนการเดินทางต่อหนึ่งวันในตำบลศาลายา ยิ่งไป กว่านั้นยังสามารถลดจำนวนผู้เดินทางด้วยรถยนต์ จาก 72.20% เป็น 38.94% จากการเปลี่ยนมาใช้รูปแบบการเดินทางใหม่
dc.format.extentxi, 157 laeves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Eng. (Industrial Engineering))--Mahidol University, 2018
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92321
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectChoice (Psychology)
dc.subjectLogistic regression analysis
dc.subjectTransplantation -- Planning
dc.subjectUrban transportation -- Thailand -- Nakornpathom -- Planning
dc.titleMode choice behaviour model for public transportation system development in Salaya district
dc.title.alternativeแบบจำลองพฤติกรรมทางเลือกสำหรับการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะในตำบลศาลายา
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2560/cd534/5836598.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Engineering
thesis.degree.disciplineIndustrial Engineering
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Engineering

Files