Sexual dimorphism of the corpus callosum in Thai subjects : the study by stained and plastinated brain slices
Issued Date
1997
Copyright Date
1997
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 55 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 1997
Suggested Citation
Pisit Poltana Sexual dimorphism of the corpus callosum in Thai subjects : the study by stained and plastinated brain slices. Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 1997. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/103227
Title
Sexual dimorphism of the corpus callosum in Thai subjects : the study by stained and plastinated brain slices
Alternative Title(s)
ความแตกต่างของคอร์พัสแคลลอซัมระหว่างเพศชายและเพศหญิงในคนไทยโดยศึกษาจากชิ้นส่วนของสมองที่ผ่านการย้อมและกำซาบด้วยสารพลาสติก
Author(s)
Abstract
The morphological difference between male and female corpus callosum, in term of total or partial cross sectional areas, have been reported with controversy. While some investigators showed the presence of sexual dimorphism of this structure, other reported otherwise. The gross morphologic studies of the corpus callosum have had the merit of calling attention to questions which were fundamental for understanding of structural-functional relations in the human brain. During the past years, the assumption could be drawn that the splenium of the corpus callosum in the female brain is significantly larger in size and more bulbous than that in the male. The present study was to perform morphometry of the corpus callosum. Sixteen brains, eight from the male and eight from the female autopsied cases, were used for measured area parameter of the coronal corpus callosum. Another identical set was used for both linear and area parameters in sagittal section. The area parameters were determined by a scanner and software program "Adobe Photoshop". In sagittal plane, the rostrum of the corpus callosum of the male was slightly larger than that of the female, while the rostral body, the isthmus and the splenium were somewhat larger in the female. In the coronal plane, the area of the male corpus callosum tended to be larger than that of the female. However, these differences were not difference. level. It is concluded that no sexual dimorphism of the corpus callosum was obvious in Thai subjects.
การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบถึงความแตกต่างของ ขนาดของคอร์พัสแคลลอซัมระหว่างเพศชายและเพศหญิง เป็นสิ่งที่มีผู้สนใจอย่างมาก ซึ่งได้มีรายงานผลว่า มีความแตกต่างกันบ้างไม่แตกต่างกันบ้าง แต่กรณีที่พบว่า มีความแตกต่างกันนั้น จะพบว่าคอร์พัสแคลลอซัมในส่วน splenium ของเพศหญิง ซึ่งเป็นทางผ่านของเส้นใยประสาท ที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นแล้วส่งต่อไปยังบริเวณที่เกี่ยวกับ การพูด มีขนาดใหญ่กว่าเพศชาย แต่กระทั่งปัจจุบันก็ยัง หาข้อสรุปที่ชัดเจนไม่ได้ การศึกษาถึงความแตกต่างของ คอร์พัสแคลลอซัมระหว่างเพศชายและเพศหญิงในคนไทย ศึกษาโดยใช้สมองที่ผ่านการย้อมและกำซาบด้วยสารพลาสติก ได้ทำการวัดพื้นที่ผิวของคอร์พัสแคลลอซัมในแนว coronal รวมถึงทำการวัดความยาวและพื้นที่ผิวของคอร์พัสแคลลอซัม ในแนว sagittal และพบว่าในแนว coronal นั้น พื้นที่ผิวของคอร์พัสแคลลอซัมในเพศชายมีมากกว่าเพศหญิง นอกจากนี้ยังพบว่าในส่วน rostrum ของเพศชายมีพื้นที่ ผิวมากกว่าเพศหญิง ซึ่งได้ทำการวัดในแนว sagittal แต่ในส่วน rostral body, isthmus และ splenium กลับพบว่าเพศหญิงมีพื้นที่ผิวในส่วนดังกล่าวมากกว่า เพศชาย อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างที่พบทั้งหมดนี้ ปรากฏว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติของคอร์พัสแคลลอซัม ระหว่างเพศชายและเพศหญิง
การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบถึงความแตกต่างของ ขนาดของคอร์พัสแคลลอซัมระหว่างเพศชายและเพศหญิง เป็นสิ่งที่มีผู้สนใจอย่างมาก ซึ่งได้มีรายงานผลว่า มีความแตกต่างกันบ้างไม่แตกต่างกันบ้าง แต่กรณีที่พบว่า มีความแตกต่างกันนั้น จะพบว่าคอร์พัสแคลลอซัมในส่วน splenium ของเพศหญิง ซึ่งเป็นทางผ่านของเส้นใยประสาท ที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นแล้วส่งต่อไปยังบริเวณที่เกี่ยวกับ การพูด มีขนาดใหญ่กว่าเพศชาย แต่กระทั่งปัจจุบันก็ยัง หาข้อสรุปที่ชัดเจนไม่ได้ การศึกษาถึงความแตกต่างของ คอร์พัสแคลลอซัมระหว่างเพศชายและเพศหญิงในคนไทย ศึกษาโดยใช้สมองที่ผ่านการย้อมและกำซาบด้วยสารพลาสติก ได้ทำการวัดพื้นที่ผิวของคอร์พัสแคลลอซัมในแนว coronal รวมถึงทำการวัดความยาวและพื้นที่ผิวของคอร์พัสแคลลอซัม ในแนว sagittal และพบว่าในแนว coronal นั้น พื้นที่ผิวของคอร์พัสแคลลอซัมในเพศชายมีมากกว่าเพศหญิง นอกจากนี้ยังพบว่าในส่วน rostrum ของเพศชายมีพื้นที่ ผิวมากกว่าเพศหญิง ซึ่งได้ทำการวัดในแนว sagittal แต่ในส่วน rostral body, isthmus และ splenium กลับพบว่าเพศหญิงมีพื้นที่ผิวในส่วนดังกล่าวมากกว่า เพศชาย อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างที่พบทั้งหมดนี้ ปรากฏว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติของคอร์พัสแคลลอซัม ระหว่างเพศชายและเพศหญิง
Description
Anatomy (Mahidol University 1997)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Anatomy
Degree Grantor(s)
Mahidol University