Guideline for noise control management in the Tempered glass production process
dc.contributor.advisor | Pramuk Osiri | |
dc.contributor.advisor | Somporn Kantharadussadee Triamchaisri | |
dc.contributor.author | Pitchaon Wongart | |
dc.date.accessioned | 2024-01-11T03:12:57Z | |
dc.date.available | 2024-01-11T03:12:57Z | |
dc.date.copyright | 2017 | |
dc.date.created | 2017 | |
dc.date.issued | 2024 | |
dc.description | Occupational Health and Safety (Mahidol University 2017) | |
dc.description.abstract | The objective of this research was to develop a noise control management guideline in a tempered glass manufacturing to conform with ILO-OSH 2001, OHSAS 18001, and Regulations under (29 CFR) PART 1910.95, Occupational noise exposure of OSHA (1983). The research studied the noise management in the tempered glass production process which sound level exceeded the standard. The method of this research consisted of three steps: (1) Review of existing noise control management by assessing the conformity with laws for developing a noise management guideline to conform to the standards. The noise sources were identified including the existing noise control methods. The noise measurements and employees' audiometric test results were also reviewed to identify the work areas with sound levels at 85 dB(A) or above. (2) Study the employee's work procedures and schedules and (3) Develope a noise management guideline for the tempered glass production process. The results from this research obtained a guideline for noise control management in a tempered glass manufacturing which consists of one work instruction manual, three operating procedures, one work procedure, and five related documents. | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแนวทางการบริหารจัดการเสียงในกระบวนการผลิตกระจกเทมเปอร์ให้สอดคล้องตามหลักการ ILO-OSH 2001, OHSAS 18001 และ Regulations (29 CFR) PART 1910.95 occupational noise exposure of OSHA (1983) การวิจัยนี้ศึกษาการบริหารจัดการเสียงในกระบวนการผลิตกระจกเทมเปอร์ ซึ่งมีระดับเสียงสูงเกินมาตรฐาน วิธีการในการวิจัย แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) ทบทวนการบริหารจัดการเสียงในปัจจุบัน โดยทำการประเมินความสอดคล้องของกฎหมาย เพื่อกำหนดแนวทางปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎหมายและข้อกำหนด การประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อค้นหาแหล่งกำเนิดเสียงและวิธีการที่ใช้ลดและควบคุมสี ยง ทบทวนข้อมูลผลตรวจวัดระดับเสียงและผลตรวจสมรรถภาพการได้ยินของพนักงานที่ผ่านมาเพื่อระบุพื้นที่ที่มีระดับเสียงตั้งแต่ 85 เดซิเบลเอขึ้นไป (2) ศึกษาขั้นตอนการทำงานและตารางการทำงานของพนักงาน (3) รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาจัดทำเป็นแนวทางการบริหารจัดการเสียงกระบวนการผลิตกระจกเทมเปอร์ ผลการวิจัยทำให้ได้แนวทางการบริหารจัดการเสียงกระบวนการผลิตกระจกเทมเปอร์ขึ้น ประกอบด้วยคู่มือ 1 ฉบับ ระเบียบการปฏิบัติงาน 3 ฉบับวิธีการปฏิบัติงาน 1 ฉบับ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง 5 ฉบับ | |
dc.format.extent | x, 155 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thematic Paper (M.Sc. (Occupational Health and Safety))--Mahidol University, 2017 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92437 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Noise control -- Case studies | |
dc.subject | Industrial noise | |
dc.title | Guideline for noise control management in the Tempered glass production process | |
dc.title.alternative | แนวทางในการจัดการเรื่องเสียงในกระบวนการผลิตกระจกเทมเปอร์ | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2560/cd524/5637051.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Public Health | |
thesis.degree.discipline | Occupational Health and Safety | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |