The use of interactive lecture demonstration in teaching high-school physics : magnetic force on a moving charged particle
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 66 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Physics))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Nuttawoot Sricharoenchai The use of interactive lecture demonstration in teaching high-school physics : magnetic force on a moving charged particle. Thesis (M.Sc. (Physics))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93316
Title
The use of interactive lecture demonstration in teaching high-school physics : magnetic force on a moving charged particle
Alternative Title(s)
การใช้วิธีการสอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเขิงปฏิสัมพันธ์ในการสอนฟิสิกส์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย : เรื่องแรงแม่เหล้กที่กระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่กำลังเคลื่อนที่
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This research presented the use of Interactive Lecture Demonstration ( ILD) in teaching high-school level on magnetic force on a moving charged particle. The aim of this work was to study grade-12 students' understanding on this physics topic and comparing the effectiveness of ILD method to traditional teaching. The ILD teaching module with the Cathode-ray tube as demonstration set had been developed and administrated to high school students. After the instruction, all sample groups' conceptual understanding were assessed by the Magnetic Force on a moving Charged Particle Test. In year 2014, the results showed that most students had difficulty of indicating the direction and magnitude of the magnetic force. They were unable to apply the right- hand rule. However, the mean score of the ILD classes was significantly better than that of the traditional class. In year 2015, the mean scores of all sample groups decreased and were extremely low compared to the previous year. Overall, the ILD method could enhance understanding of students with the requirement that some members of each group should have a good background in the subject. In addition, most students lack consistency in answering the same concept questions. However, the number of students who had highest consistency belong to ILD class in 2014.
งานวิจัยนี้นำเสนอวิธีการสอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์ (ILD) ในเรื่องแรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าสำหรับการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และเปรียบเทียบประสิทธิภาพการสอนระหว่าง วิธีการสอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์ (ILD) และวิธีการสอนแบบดั่งเดิม (traditional teaching) งานวิจัยนี้ได้มีการพัฒนาชุดการเรียนการสอน ILD โดยใช้หลอดรังสีแคโทดเป็นชุดสาธิตประกอบการสอน หลังจากเสร็จสิ้นการเรียน นักเรียนทุกกลุ่มได้รับการทดสอบความเข้าใจหลังเรียนด้วย แบบทดสอบแรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า พบว่า ในปีการศึกษา 2557 นักเรียนจำนวนมากมีความเข้าใจผิดในการหาทิศทางและขนาดของแรงแม่เหล็กและขาดความชำนาญในการใช้กฏมือขวา อย่างไรก็ตาม คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนในห้องเรียนที่สอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์ (ILD) สูงกว่า ห้องเรียนที่สอนด้วยวิธีแบบดั่งเดิมอย่างมีนัยสำคัญ ในปีการศึกษา 2558 คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนแต่ละกลุ่มมี ค่าน้อยเมื่อเทียบกับคะแนนเต็มและต่ำ กว่าปี ที่ผ่านมา การสอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์ (ILD) ช่วยพัฒนาความเข้าใจของนักเรียนได้ดี โดยมีเงื่อนไขที่สมาชิกในกลุ่มย่อยจะต้องมีนักเรียนที่มีความรู้พื้นฐานฟิสิกส์เป็นอย่างดีอยู่ในกลุ่ม นอกจากนี้ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ไม่สามารถตอบคำถามที่ทดสอบความเข้าใจในประเด็นเดียวกันได้ อย่างไรก็ตาม ในปีการศึกษา 2557 นักเรียนที่สอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์ (ILD) มีจำนวนนักเรียนที่สามารถตอบคำถามที่วัดความเข้าใจในประเด็นเดียวกันได้มากที่สุด
งานวิจัยนี้นำเสนอวิธีการสอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์ (ILD) ในเรื่องแรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าสำหรับการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และเปรียบเทียบประสิทธิภาพการสอนระหว่าง วิธีการสอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์ (ILD) และวิธีการสอนแบบดั่งเดิม (traditional teaching) งานวิจัยนี้ได้มีการพัฒนาชุดการเรียนการสอน ILD โดยใช้หลอดรังสีแคโทดเป็นชุดสาธิตประกอบการสอน หลังจากเสร็จสิ้นการเรียน นักเรียนทุกกลุ่มได้รับการทดสอบความเข้าใจหลังเรียนด้วย แบบทดสอบแรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า พบว่า ในปีการศึกษา 2557 นักเรียนจำนวนมากมีความเข้าใจผิดในการหาทิศทางและขนาดของแรงแม่เหล็กและขาดความชำนาญในการใช้กฏมือขวา อย่างไรก็ตาม คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนในห้องเรียนที่สอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์ (ILD) สูงกว่า ห้องเรียนที่สอนด้วยวิธีแบบดั่งเดิมอย่างมีนัยสำคัญ ในปีการศึกษา 2558 คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนแต่ละกลุ่มมี ค่าน้อยเมื่อเทียบกับคะแนนเต็มและต่ำ กว่าปี ที่ผ่านมา การสอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์ (ILD) ช่วยพัฒนาความเข้าใจของนักเรียนได้ดี โดยมีเงื่อนไขที่สมาชิกในกลุ่มย่อยจะต้องมีนักเรียนที่มีความรู้พื้นฐานฟิสิกส์เป็นอย่างดีอยู่ในกลุ่ม นอกจากนี้ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ไม่สามารถตอบคำถามที่ทดสอบความเข้าใจในประเด็นเดียวกันได้ อย่างไรก็ตาม ในปีการศึกษา 2557 นักเรียนที่สอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์ (ILD) มีจำนวนนักเรียนที่สามารถตอบคำถามที่วัดความเข้าใจในประเด็นเดียวกันได้มากที่สุด
Description
Physics (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Physics
Degree Grantor(s)
Mahidol University