การสังเคราะห์บทความวิจัยด้านดนตรีบำบัดในโรงเรียน : การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

dc.contributor.advisorนัทธี เชียงชะนา
dc.contributor.advisorอำไพ บูรณประพฤกษ์
dc.contributor.authorภานุ เจริญเสริมสกุล
dc.date.accessioned2024-01-05T02:02:20Z
dc.date.available2024-01-05T02:02:20Z
dc.date.copyright2561
dc.date.created2561
dc.date.issued2567
dc.descriptionดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561)
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์งานวิจัยด้านดนตรีบำบัดในโรงเรียน จำนวน ทั้งหมด 39 เรื่อง ซึ่งเป็นบทความวิจัยทางดนตรีบำบัดที่ศึกษาผลของกิจกรรมดนตรีบำบัด (Music Intervention) ในบริบทโรงเรียนจากต่างประเทศที่ถูกตีพิมพ์ นับตั้งแต่เริ่มมีการเผยแพร่จนถึงปี 2560 จาก ฐานข้อมูลออนไลน์ เช่น EBSCOhost และ OXFORD ACADEMIC โดยแบ่งการสังเคราะห์ออกเป็น 3 ด้าน คือ 1) ด้านการตีพิมพ์และนักวิจัย 2) ด้านระเบียบวิธีวิจัย และ 3) ด้านเนื้อหางานวิจัยและกิจกรรมทางดนตรีบำบัด โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่และร้อยละ ผลที่ได้จากการสังเคราะห์งานวิจัยพบว่า งานวิจัยส่วนใหญ่ได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ.2006-2010 (38.46%) ซึ่งมาจากวารสาร Journal of Music Therapy มากที่สุด (51.28%) โดยแบบแผนการทดลองแบบที่ถูกใช้มากที่สุดคือ Posttest-only design with nonequivalent groups (17.95%) และใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Descriptive statistics มากที่สุด (23.08%) กลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่พบว่าเป็นเด็กที่มีความบกพร่องทางด้านอารมณ์หรือพฤติกรรม (20.51%) โดยใช้การจัดรูปแบบชั้นเรียนเป็นชั้นเรียนแยกมากที่สุด (33.33%) เครื่องมือที่ใช้โดยส่วนใหญ่ใช้วัดทักษะทางด้านอารมณ์ (26.64%) และกิจกรรมดนตรีบำบัดที่ใช้มากที่สุดเป็นกิจกรรมการร้องเพลง การฟังเพลง การเล่นเครื่องดนตรี และกิจกรรมเคลื่อนไหว (25.64%)
dc.description.abstractThe purpose of this study was to synthesize research articles on music therapy in school settings. 39 research articles were identified to investigate effects of music therapy interventions implemented in schools. The articles were published from 2017 back to the earlier publication found and gathered from online databases. The synthesis of research articles was categorized into three areas: 1) publications and researchers, 2) research methodology, and 3) research contents and music interventions. Descriptive statistics (frequency and percentages) were used to analyze data. The result of the systematic review indicated that most of the research articles were issued from 2006 to 2010 (38.46%) and published by Journal of Music Therapy (51.28%). The most frequently used research design was posttest-only design with nonequivalent groups (17.95%), and the most common data analysis method was descriptive statistics (23.08%). The majority of participants were diagnosed as behavioral or emotional disorders (20.51%). Most studies were conducted in separated classroom (33.33%). Singing, music listening, playing music instruments and music movement were mainly used as music activities (25.64%).
dc.format.extentก-ฌ, 152 แผ่น : ภาพประกอบ
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91903
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectดนตรีบำบัด
dc.subjectดนตรีบำบัดสำหรับเด็ก
dc.titleการสังเคราะห์บทความวิจัยด้านดนตรีบำบัดในโรงเรียน : การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ
dc.title.alternativeSynthesis of research articles on music therapy in school : a systematic review
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/546/5836002.pdf
thesis.degree.departmentวิทยาลัยดุริยางคศิลป์
thesis.degree.disciplineดนตรี
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Files