The study of competency and development guidelines of disaster prevention and mitigation officers in local administration organizations
Issued Date
2024
Copyright Date
2020
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 284 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (D.P.A. (Public Policy and Public Management))--Mahidol University, 2020
Suggested Citation
Kanrawee Wichaipa The study of competency and development guidelines of disaster prevention and mitigation officers in local administration organizations. Thesis (D.P.A. (Public Policy and Public Management))--Mahidol University, 2020. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92268
Title
The study of competency and development guidelines of disaster prevention and mitigation officers in local administration organizations
Alternative Title(s)
การศึกษาสมรรถนะและแนวทางการพัฒนาของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The Study of Competency and Development Guidelines of Disaster Prevention and Mitigation Officers in Local administration Organizations aimed to study and develop functional competency of disaster prevention and mitigation personnel and hazard specific competency of Disaster Prevention and Mitigation Officers from Floods, Storms, and Landslides. This led to creating a method to develop personnel following the functional competency and hazard specific competency of Disaster Prevention and Mitigation Officers in Thailand Local Administration. This study is a qualitative research using the Delphi technique via researching documents, in-depth interviews and group discussions which were conducted by doing content analysis. After that, the data was confirmed by using the Delphi technique. According to the study, the functional competency of Disaster Prevention and Mitigation Officers included: 1) understanding of laws regulations and authority 2) proactivity to analyze and evaluate situations professionally 3) networking in operations and public and community relations. The hazard specific competency of Disaster Prevention and Mitigation Officers for floods, storms, and landslides included: 1) movement and evacuation of victims 2) the art of persuasion for management in the area 3) specialization in demolition of buildings and obstructions. The competency indicators were divided into 5 levels depending on positions of Disaster Prevention and Mitigation Officers in Thailand Local Administration. The results showed that there is a distinctive value between Quartile 1 and Quartile 3 if the quartile range values not over 1.50. It means that experts' opinions through the competency were conformed. The median and mode of each competency have differences, not over 1.00. It shows that experts' opinions through the competency were conformed. Moreover, experts mostly agree that the median is 4.5 and over. Additionally, researchers created a method to develop personnel following the functional competency of Disaster Prevention and Mitigation Officers in the department of local administration by a tool called Training Road Map (TRM) which is the map of training development and self-study of each competency. The map was an acquired opinions by the leader of Disaster Prevention and Mitigation Officers, the trainer and the local administrator. The researchers intended to present through the principle of creating freedom of department of local administration. The policy proposal is to let the personnel development institution of Disaster Prevention and Mitigation arrange a course for training that corresponds to functional competency and hazard specific competency for the ability to develop personnel in Disaster Prevention and Mitigation in each different risk area. Similarly, the practical proposal is choosing the competency of the department of local administration should include the competency that is proper for that department of local administration for letting management and human resource development in the department of local administration be practical and suitable for the area.
การศึกษาเรื่อง สมรรถนะ และ ดัชนีวัด ในการบริหารจัดการภัยพิบัติ ของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณะในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดสมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและสมรรถนะเฉพาะภัยของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในภัยพิบัติจากอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม เพื่อนำไปสู่การออกแบบและสร้างแนวทางการพัฒนาบุคคลากรตามสมรรถนะเฉพาะภัยของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)โดยใช้เทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) ผ่านการวิจัยจากเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทำ (content analysis) จากนั้นดำเนินการทำการยืนยันผลด้วยเทคนิคเดลฟาย จากการศึกษาพบว่า สมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจะประกอบด้วย สมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยสมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและสมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สมรรถนะเฉพาะภัยของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในภัยพิบัติจากอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม จะประกอบด้วย การเคลื่อนย้ายสิ่งของและการอพยพผู้ประสบอุทกภัยศิลปะแห่งการโน้มน้าวเพื่อการบริหารจัดการในพื้นที่ และโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความเสี่ยงวาตภัย จะต้องมีสมรรถนะในเรื่องความเชี่ยวชาญในการรื้อถอนอาคารและสิ่งกีดขวาง ทางนี้ผู้ศึกษาได้จัดทำ ตัวชี้วัดสมรรถนะออกเป็น 5 ระดับตามลำดับของตำแหน่งพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลการยืนยันผลด้วยเทคนิคเดลฟายพบว่าสมรรถนะ และพฤติกรรมบ่งชี้ (ตัวชี้วัด) ที่ผู้ศึกษาได้จัดทำ ขึ้นผู้เชี่ยวชาญเห็นว่าเหมาะสมที่จะเป็นสมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและมีความคิดเห็นสอดคล้องกันทั้งหมด คือ ค่าความแตกต่างระหว่างควอไทล์ที่ 1 กับควอไทล์ 3 ถ้าพิสัยควอไทล์ของตัวแปรมีค่าไม่เกิน 1.50 แสดงว่าความคิดเห็นของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อสมรรถนะสอดคล้องกัน ค่ามัธยฐานและฐานนิยมของแต่ละสมรรถนะมีความแตกต่างไม่เกิน 1.00 แสดงว่าความคิดเห็นของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อสมรรถนะสอดคล้องกัน และ มีค่ามัธยฐานตั้งแต่ 4.5 ขึ้นไปหมายถึงกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเห็นด้วยมากที่สุดนอกจากนั้นแล้วผู้ศึกษาได้ออกแบบ แนวทางการพัฒนาบุคคลากรตามสมรรถนะเฉพาะภัยของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผ่านเครื่องมือ ที่เรียกว่าแผนที่เส้นทางการพัฒนาตามสายงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (Training Road Map : TRM)โดยเป็นแผนที่การฝึกอบรมการพัฒนาและการศึกษาด้วยตนเองของแต่ละสมรรถนะซึ่งแผนที่เส้นทางการพัฒนานี้ได้รับขอความคิดเห็นจากหัวหน้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยครูฝึกและผู้บริหารท้องถิ่น แล้วนำมาจะทำขึ้น โดยการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษามีข้อเสนอผ่านหลักการในการสร้างความเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเป็นข้อเสนอนโยบายว่า ควรมีการให้สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจัดหลักสูตรการฝึกอบรมที่ตอบสนองต่อสมรรถนะตามสายงานและสมรรถนะเฉพาะภัย เพื่อที่จะสามารถพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้เหมาะสมกับพื้นที่ และเหมาะสมกับความเสี่ยงที่จะเกิดภายในพื้นที่นั้น ๆ และข้อเสนอเชิงปฏิบัติว่า ในการเลือกสมรรถนะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรเป็นการจัดทำ สมรรถนะที่เหมาะสมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นรวมไปด้วย เพื่อที่จะให้การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปอย่างเหมาะสมกับพื้นที่และสามารถปฏิบัติได้ในพื้นที่
การศึกษาเรื่อง สมรรถนะ และ ดัชนีวัด ในการบริหารจัดการภัยพิบัติ ของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณะในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดสมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและสมรรถนะเฉพาะภัยของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในภัยพิบัติจากอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม เพื่อนำไปสู่การออกแบบและสร้างแนวทางการพัฒนาบุคคลากรตามสมรรถนะเฉพาะภัยของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)โดยใช้เทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) ผ่านการวิจัยจากเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทำ (content analysis) จากนั้นดำเนินการทำการยืนยันผลด้วยเทคนิคเดลฟาย จากการศึกษาพบว่า สมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจะประกอบด้วย สมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยสมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและสมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สมรรถนะเฉพาะภัยของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในภัยพิบัติจากอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม จะประกอบด้วย การเคลื่อนย้ายสิ่งของและการอพยพผู้ประสบอุทกภัยศิลปะแห่งการโน้มน้าวเพื่อการบริหารจัดการในพื้นที่ และโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความเสี่ยงวาตภัย จะต้องมีสมรรถนะในเรื่องความเชี่ยวชาญในการรื้อถอนอาคารและสิ่งกีดขวาง ทางนี้ผู้ศึกษาได้จัดทำ ตัวชี้วัดสมรรถนะออกเป็น 5 ระดับตามลำดับของตำแหน่งพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลการยืนยันผลด้วยเทคนิคเดลฟายพบว่าสมรรถนะ และพฤติกรรมบ่งชี้ (ตัวชี้วัด) ที่ผู้ศึกษาได้จัดทำ ขึ้นผู้เชี่ยวชาญเห็นว่าเหมาะสมที่จะเป็นสมรรถนะตามสายงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและมีความคิดเห็นสอดคล้องกันทั้งหมด คือ ค่าความแตกต่างระหว่างควอไทล์ที่ 1 กับควอไทล์ 3 ถ้าพิสัยควอไทล์ของตัวแปรมีค่าไม่เกิน 1.50 แสดงว่าความคิดเห็นของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อสมรรถนะสอดคล้องกัน ค่ามัธยฐานและฐานนิยมของแต่ละสมรรถนะมีความแตกต่างไม่เกิน 1.00 แสดงว่าความคิดเห็นของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อสมรรถนะสอดคล้องกัน และ มีค่ามัธยฐานตั้งแต่ 4.5 ขึ้นไปหมายถึงกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเห็นด้วยมากที่สุดนอกจากนั้นแล้วผู้ศึกษาได้ออกแบบ แนวทางการพัฒนาบุคคลากรตามสมรรถนะเฉพาะภัยของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผ่านเครื่องมือ ที่เรียกว่าแผนที่เส้นทางการพัฒนาตามสายงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (Training Road Map : TRM)โดยเป็นแผนที่การฝึกอบรมการพัฒนาและการศึกษาด้วยตนเองของแต่ละสมรรถนะซึ่งแผนที่เส้นทางการพัฒนานี้ได้รับขอความคิดเห็นจากหัวหน้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยครูฝึกและผู้บริหารท้องถิ่น แล้วนำมาจะทำขึ้น โดยการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษามีข้อเสนอผ่านหลักการในการสร้างความเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเป็นข้อเสนอนโยบายว่า ควรมีการให้สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจัดหลักสูตรการฝึกอบรมที่ตอบสนองต่อสมรรถนะตามสายงานและสมรรถนะเฉพาะภัย เพื่อที่จะสามารถพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้เหมาะสมกับพื้นที่ และเหมาะสมกับความเสี่ยงที่จะเกิดภายในพื้นที่นั้น ๆ และข้อเสนอเชิงปฏิบัติว่า ในการเลือกสมรรถนะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรเป็นการจัดทำ สมรรถนะที่เหมาะสมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นรวมไปด้วย เพื่อที่จะให้การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปอย่างเหมาะสมกับพื้นที่และสามารถปฏิบัติได้ในพื้นที่
Description
Public Policy and Public Management (Mahidol University 2020)
Degree Name
Doctor of Public Administration
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Public Policy and Public Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University