Development of the reproductive system and localization of egg-laying hormone (ELH) in the Gonad of a Tropical Abalone, Haliotis Asinina Linnaeus
Issued Date
2000
Copyright Date
2000
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xvi, 130 leaves : ill. (col.)
ISBN
9746638599
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 2000
Suggested Citation
Malee Chanpoo Development of the reproductive system and localization of egg-laying hormone (ELH) in the Gonad of a Tropical Abalone, Haliotis Asinina Linnaeus. Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 2000. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94557
Title
Development of the reproductive system and localization of egg-laying hormone (ELH) in the Gonad of a Tropical Abalone, Haliotis Asinina Linnaeus
Alternative Title(s)
การพัฒนาระบบสืบพันธุ์และการหาตำแหน่งการกระจายของฮอร์โมนกระตุ้นการตกไข่ในระบบสืบพันธุ์ของหอยเป๋าฮื้อ, Haliotis asinina Linnaeus
Author(s)
Abstract
The aims of this thesis were to classify the germ cells and study the development of gonad and localization of egg-laying hormone in Haliotis asinina. The gonadal histology and germ cells were studied by light microscopy using paraffin and semithin methods. Connective tissue frameworks of the gonad consist of the outer and inner gonadal capsules linked by flat sheets of connective tissue called trabeculae. Trabeculae partition the gonad into compartments and each trabecula acts as the axis on which growing germ cells are attached and proliferate to form oogenetic or spermatogenic unit. Each trabecula contains small capillaries in the center, surrounded by muscle cells, collagen fibers intermingled with fibroblasts, and a substantial number of granulated cells which have many processes. Germ cells in oogenetic unit could be classified into six stages according to their histological characteristics: oogonium and five stages of oocytes, i.e., Oc1 with intense basophilic cytoplasm, Oc2 with light basophilic cytoplasm and lipid droplets, Oc3 with a few yolk granules, Oc4 with increasing number of yolk granules and thin jelly coat, Oc5 with numerous yolk granules and fully formed jelly coat. Germ cells in spermatogenetic process could be classified according to the appearance of chromatin and the presence or absence of nucleolus into thirteen stages: spermatogonium, five stages of spermatocytes, secondary spermatocyte, four stages of spermatids and two stages of spermatozoa. Definitive gonad appears to be clearly separated from the hepatopancreas at 2 months. Gonial cells are found at 2 months; early spermatocytes, spermatids and immature spermatozoa appear at 4 months, early oocytes (Oc1, O2) are later observed at 6 to 7 months. While completely mature spermatozoa could arise in the gonad as early as 7 months; mature oocytes (Oc4, O5) occur much later at 10 to 11 months. The male animals tend to reach full sexual maturity and start normal reproductive cycle as early as 7 to 8 month, while female animals reach maturity and start reproductive cycle around 11 to 12 months. Localization of egg-laying hormone (ELH) was performed by immunofluorescence, immunogold with silver enhancement and immunoperoxidase techniques using polyclonal antibody to recombinant abalone egg-laying hormone (aELH) or H. rubra as a probe. Anti-aELH exhibits strong bindings, which implies the presence of aELH, to muscle cells and granulated cells within trabeculae and capsules. The cytoplasm of immature oocytes (stages 1, 2, 3) are moderately stained, while that of mature oocytes (stages 4, 5) are only weakly stained. It is possible that, aELH may be synthesized and released by granulated cells. This hormone may act directly on muscle cells to induce their contraction, which cause the expulsion of ripe oocytes or spermatozoa from the gonad. This study will apply to increase the number of abalone.
หอยเป๋าฮื้อ หรือ หอยร้อยรู เป็นหอยทะเลที่มีเพศแยกจากกันอย่างชัดเจน จากการศึกษา จุลกายวิภาคของอวัยวะสืบพันธุ์ และการผลิตเซลล์สืบพันธุ์ของหอยเป๋าฮื้อในระดับจุลทรรศน์ ธรรมดาโดยใช้วิธี paraffin และ semithin พบว่า โครงเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่ห่อหุ้มและค้ำจุน อัณฑะและรังไข่ของหอยเป๋าฮื้อประกอบด้วย ถุงหุ้มภายนอก ถุงหุ้มภายในที่กั้นอัณฑะกับรังไข่ จาก hepatopancreas และเยื่อเกี่ยวพันที่แทรกจากถุงหุ้มเข้าไปในรังไข่และอัณฑะเป็นแผง trabeculae ภายในแผง trabeculae แต่ละอันมีหลอดเลือดขนาดเล็กอยู่กลางล้อมรอบด้วยเซลล์ กล้ามเนื้อ (muscle cell) เซลล์ขนาดเล็กที่มีนิวเคลียสรูปร่างกลมหรือรี กลุ่มเซลล์เหล่านี้ อาจเป็นเซลล์ fibroblast และเซลล์ที่มีแกรนูล (granulated cell) กระจายอยู่ทั่วไป ที่แผง trabeculae มีเซลล์สืบพันธุ์ขั้นต้น และขั้นปลายหุ้มอยู่รอบๆ ในรับไข่เซลล์สืบพันธุ์ ประกอบด้วย 6 ขั้นคือ oogonium (Og) และ primary oocytes ขั้นที่ I, II, III, IV และ V ซึ่งมีความแตกต่างกันตามปริมาณสารติดสีด่าง หยดไขมัน (lipid droplets) ก้อนไข่แดง (volk granules) ภายในไซโตปลาสซึม และสารเคลือบเซลล์ (jelly coat) ที่แต่ละเซลล์สร้างขึ้นการ จำแนกชั้นของเซลล์สืบพันธุ์ในหอยเพศผู้ ทำได้โดยการใช้ลักษณะของการขดตัวของโครมาตินและ การปรากฎหรือการหายไปของนิวคลีโอลัส เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้แบ่งออกเป็น 13 ขั้น คือ spermatogonium, primary spermatocytes 5 ขั้น, secondary spermatocyte, spermatids 4 ขั้น และ spermatozoa 2 ขั้น การศึกษาการพัฒนาของระบบสืบพันธุ์ในหอยอายุต่างๆกันในช่วงเวลา 1 ปี โดยเทคนิค จุลทรรศน์ธรรดาพบว่า การพัฒนาของระบบสืบพันธุ์เริ่มปรากฎว่ามี gonial cells เกิดขึ้นเมื่อ หอยอายุได้ 2 เดือน เซลล์ระยะต่อมาคือ spermatocytes, spermatids และ immature spermatozoa เกิดขึ้นเมื่อหอยอายุได้ 4 เดือน ส่วน oocytes ขั้นที่ I และ II พบเมื่อหอยอายุ 6 ถึง 7 เดือน อัณฑะที่พัฒนาเต็มที่โดยพบว่ามีเซลล์ mature spermatozoa เกิดขึ้นในหอยอายุ 7 ถึง 8 เดือน ในขณะที่รังไข่เริ่มมีการพัฒนาเต็มที่ดยพบว่ามีเซลล์สืบพันธุ์ขั้นปลายคือ oocytes ขั้นที่ IV และ V ในหอยอายุ 10 ถึง 11 เดือน ดังนั้นในทางปฏิบัติหอยเพศผู้อาจจะถูกใช้เป็น พ่อพันธุ์ได้ตั้งแต่อายุ 7 เดือนขึ้นไป ส่วนเพศเมียต้องรอให้มีอายุอย่างน้อย 11 เดือน ขึ้นไป การหาการกระจายของฮอร์โมนกระตุ้นการตกไข่ (ELH) โดยใช้เทคนิค immunofluorescence, immunogold with silver enhancement และ immunoperoxidase โดยใช้แอนติบอดีต่อ ELH แสดง การติดสีเข้มที่ในเซลล์กล้ามเนื้อ และเซลล์ที่มีแกรนูล ซึ่งกระจายอยู่ในแผง trabeculae และถุงหุ้มด้านนอกและด้านใน นอกจากนี้ยังมีการติดสีเข้มในไซโตปลาสซึมของเซลล์ไข่ขั้นที่ I, II และ III และติดสีจางในไข่ขั้นที่ IV และ V ดังนั้นกลุ่มเซลล์ที่มีแกรนูลนี้อาจจะ ทำหน้าที่สังเคราะห์ฮอร์โมนที่กระตุ้นการตกไข่ โดยฮอร์โมนชนิดนี้จะไปกระตุ้นเซลล์กล้าม เนื้อที่อยู่ในแผง trabeculae และถุงหุ้มด้านนอกและด้านใน ทำให้เกิดการหดตัวและปล่อย เซลล์สืบพันธุ์ออกจากตัวหอย
หอยเป๋าฮื้อ หรือ หอยร้อยรู เป็นหอยทะเลที่มีเพศแยกจากกันอย่างชัดเจน จากการศึกษา จุลกายวิภาคของอวัยวะสืบพันธุ์ และการผลิตเซลล์สืบพันธุ์ของหอยเป๋าฮื้อในระดับจุลทรรศน์ ธรรมดาโดยใช้วิธี paraffin และ semithin พบว่า โครงเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่ห่อหุ้มและค้ำจุน อัณฑะและรังไข่ของหอยเป๋าฮื้อประกอบด้วย ถุงหุ้มภายนอก ถุงหุ้มภายในที่กั้นอัณฑะกับรังไข่ จาก hepatopancreas และเยื่อเกี่ยวพันที่แทรกจากถุงหุ้มเข้าไปในรังไข่และอัณฑะเป็นแผง trabeculae ภายในแผง trabeculae แต่ละอันมีหลอดเลือดขนาดเล็กอยู่กลางล้อมรอบด้วยเซลล์ กล้ามเนื้อ (muscle cell) เซลล์ขนาดเล็กที่มีนิวเคลียสรูปร่างกลมหรือรี กลุ่มเซลล์เหล่านี้ อาจเป็นเซลล์ fibroblast และเซลล์ที่มีแกรนูล (granulated cell) กระจายอยู่ทั่วไป ที่แผง trabeculae มีเซลล์สืบพันธุ์ขั้นต้น และขั้นปลายหุ้มอยู่รอบๆ ในรับไข่เซลล์สืบพันธุ์ ประกอบด้วย 6 ขั้นคือ oogonium (Og) และ primary oocytes ขั้นที่ I, II, III, IV และ V ซึ่งมีความแตกต่างกันตามปริมาณสารติดสีด่าง หยดไขมัน (lipid droplets) ก้อนไข่แดง (volk granules) ภายในไซโตปลาสซึม และสารเคลือบเซลล์ (jelly coat) ที่แต่ละเซลล์สร้างขึ้นการ จำแนกชั้นของเซลล์สืบพันธุ์ในหอยเพศผู้ ทำได้โดยการใช้ลักษณะของการขดตัวของโครมาตินและ การปรากฎหรือการหายไปของนิวคลีโอลัส เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้แบ่งออกเป็น 13 ขั้น คือ spermatogonium, primary spermatocytes 5 ขั้น, secondary spermatocyte, spermatids 4 ขั้น และ spermatozoa 2 ขั้น การศึกษาการพัฒนาของระบบสืบพันธุ์ในหอยอายุต่างๆกันในช่วงเวลา 1 ปี โดยเทคนิค จุลทรรศน์ธรรดาพบว่า การพัฒนาของระบบสืบพันธุ์เริ่มปรากฎว่ามี gonial cells เกิดขึ้นเมื่อ หอยอายุได้ 2 เดือน เซลล์ระยะต่อมาคือ spermatocytes, spermatids และ immature spermatozoa เกิดขึ้นเมื่อหอยอายุได้ 4 เดือน ส่วน oocytes ขั้นที่ I และ II พบเมื่อหอยอายุ 6 ถึง 7 เดือน อัณฑะที่พัฒนาเต็มที่โดยพบว่ามีเซลล์ mature spermatozoa เกิดขึ้นในหอยอายุ 7 ถึง 8 เดือน ในขณะที่รังไข่เริ่มมีการพัฒนาเต็มที่ดยพบว่ามีเซลล์สืบพันธุ์ขั้นปลายคือ oocytes ขั้นที่ IV และ V ในหอยอายุ 10 ถึง 11 เดือน ดังนั้นในทางปฏิบัติหอยเพศผู้อาจจะถูกใช้เป็น พ่อพันธุ์ได้ตั้งแต่อายุ 7 เดือนขึ้นไป ส่วนเพศเมียต้องรอให้มีอายุอย่างน้อย 11 เดือน ขึ้นไป การหาการกระจายของฮอร์โมนกระตุ้นการตกไข่ (ELH) โดยใช้เทคนิค immunofluorescence, immunogold with silver enhancement และ immunoperoxidase โดยใช้แอนติบอดีต่อ ELH แสดง การติดสีเข้มที่ในเซลล์กล้ามเนื้อ และเซลล์ที่มีแกรนูล ซึ่งกระจายอยู่ในแผง trabeculae และถุงหุ้มด้านนอกและด้านใน นอกจากนี้ยังมีการติดสีเข้มในไซโตปลาสซึมของเซลล์ไข่ขั้นที่ I, II และ III และติดสีจางในไข่ขั้นที่ IV และ V ดังนั้นกลุ่มเซลล์ที่มีแกรนูลนี้อาจจะ ทำหน้าที่สังเคราะห์ฮอร์โมนที่กระตุ้นการตกไข่ โดยฮอร์โมนชนิดนี้จะไปกระตุ้นเซลล์กล้าม เนื้อที่อยู่ในแผง trabeculae และถุงหุ้มด้านนอกและด้านใน ทำให้เกิดการหดตัวและปล่อย เซลล์สืบพันธุ์ออกจากตัวหอย
Description
Anatomy (Mahidol University 2000)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Anatomy
Degree Grantor(s)
Mahidol University