Business process improvement of student-related educational process in an academic sector : a case study in technology of information system management division
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 79 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Pawarisa Luesaksiriwattana Business process improvement of student-related educational process in an academic sector : a case study in technology of information system management division. Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92387
Title
Business process improvement of student-related educational process in an academic sector : a case study in technology of information system management division
Alternative Title(s)
การปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจสำหรับกระบวนการการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาโดยตรง ในภาคการศึกษา : กรณีศึกษากลุ่มสาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Apart from teaching and learning, the education services are essential for any educational institutions. Information Technology Management Division (ITM) has three groups of servicing process: 1) Student-Related Educational process, 2) Non Student-Related Educational process, and 3) Administrative and Supportive process. This research came from the investigated problems that the existing processes are not clearly stated and described and some of them consume a lot of time. Thus, this research studied and applied the Business Process Improvement method (BPI) for the processes in ITM by scoping to the Student-Related Educational process. The gap analysis was performed based on the interview to obtain As-Is of each process. The selected process was based on the suggestion of officers who had defined that those processes should be improved. The selected processes were: 1) Thesis Proposal, 2) Thesis Defense, and 3) Registration for Graduation. The swimming lane diagrams for all processes were proposed to clearly state responsibilities, timeline, and documentation of each process. The other selected processes were Student Scholarship and Comprehensive & Qualify Examination. Timelines for those two processes are proposed for presenting the systematic processes. The results were based on the interview after the process improvement moreover, the officers could allocate their time for each process. The responsibility, documentation and timeline of each process were clearly defined, and it could attract other people to apply for studying in ITM. The future research can be extended to other faculties or universities to improve Student-Related Educational process.
นอกจากการเรียนการสอนภายในมหาวิทยาลัยเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดแล้วนั้น การให้บริการการศึกษาในด้านอื่น ๆ ถือเป็นสิ่งสำคัญไม่ต่างจากการเรียนการสอน ซึ่งกลุ่มสาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถแบ่งการให้บริการได้เป็น 3 กลุ่มคือ 1. Student-Related Educational Process 2. Non Student-Related Educational Process 3. Administrative and Supportive Process แต่กระบวนการต่าง ๆ ที่ให้บริการอยู่นั้นยังไม่มีความชัดเจนและใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานที่ไม่รวดเร็ว จึงดำเนินการศึกษาเพื่อปรับปรุงกระบวนการในการดำเนินงานของกลุ่มสาขา โดยงานวิจัยเล่มนี้ทำการศึกษวิจัยเรื่องของ Student-Related Educational Process และ จากการที่ผู้วิจัยได้ทำการศึกษากับผู้เกี่ยวข้อง โดยการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องและทำการเขียน As-Is Process จากนั้นนำข้อมูลดังกล่าวมาทำการวิเคราะห์หาช่องโหว่ในแต่ละกระบวนการ และทำการเลือกกระบวนการกับผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการที่มีความสำคัญต่อการให้บริการแก่นักศึกษาหรือเป็นกระบวนการที่เจ้าหน้าที่มองว่ามีปัญหาอยู่แล้วนำมาปรับปรุงใหม่ ได้แก่ 1. Thesis Proposal 2. Thesis Defense 3. Graduate Register ทั้ง 3 กระบวนการได้ทำ การออกแบบ Swimming Lane Diagram ขึ้นมาใหม่ เพื่อให้มีความชัดเจนในเรื่องของหน้าที่ ระยะเวลา และเอกสารในการดำเนินงานของแต่ละ Process ได้อย่างชัดเจน 4. Student Scholarship and 5. Comprehensive & Qualify Examination ทำการปรับปรุงโดยการเขียน Time Line ในการทำงานเพื่อให้เป็นแนวทางในการทำ ได้อย่างเป็นระบบ สำหรับผลลัพธ์ที่ได้จากการสัมภาษณ์ หลังดำเนินการปรับปรุงกระบวนการเจ้าหน้าที่สามารถที่จะจัดสรรเวลาของการดำเนินงาน รวมทั้งให้ความชัดเจนในหน้าที่ที่รับผิดชอบ เอกสาร และ ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินงานของแต่ละ Processเป็นอย่างดี และเป็นแรงจูงใจให้บุคคลภายนอกสนใจเข้ามาศึกษาในหลักสูตรการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตควรจะขยายขอบเขตงานวิจัยในระดับ คณะหรือมหาวิทยาลัยเพื่อให้เกิดการปรับปรุงในด้านการบริการและการศึกษาอย่างบูรณาการ
นอกจากการเรียนการสอนภายในมหาวิทยาลัยเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดแล้วนั้น การให้บริการการศึกษาในด้านอื่น ๆ ถือเป็นสิ่งสำคัญไม่ต่างจากการเรียนการสอน ซึ่งกลุ่มสาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถแบ่งการให้บริการได้เป็น 3 กลุ่มคือ 1. Student-Related Educational Process 2. Non Student-Related Educational Process 3. Administrative and Supportive Process แต่กระบวนการต่าง ๆ ที่ให้บริการอยู่นั้นยังไม่มีความชัดเจนและใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานที่ไม่รวดเร็ว จึงดำเนินการศึกษาเพื่อปรับปรุงกระบวนการในการดำเนินงานของกลุ่มสาขา โดยงานวิจัยเล่มนี้ทำการศึกษวิจัยเรื่องของ Student-Related Educational Process และ จากการที่ผู้วิจัยได้ทำการศึกษากับผู้เกี่ยวข้อง โดยการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องและทำการเขียน As-Is Process จากนั้นนำข้อมูลดังกล่าวมาทำการวิเคราะห์หาช่องโหว่ในแต่ละกระบวนการ และทำการเลือกกระบวนการกับผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการที่มีความสำคัญต่อการให้บริการแก่นักศึกษาหรือเป็นกระบวนการที่เจ้าหน้าที่มองว่ามีปัญหาอยู่แล้วนำมาปรับปรุงใหม่ ได้แก่ 1. Thesis Proposal 2. Thesis Defense 3. Graduate Register ทั้ง 3 กระบวนการได้ทำ การออกแบบ Swimming Lane Diagram ขึ้นมาใหม่ เพื่อให้มีความชัดเจนในเรื่องของหน้าที่ ระยะเวลา และเอกสารในการดำเนินงานของแต่ละ Process ได้อย่างชัดเจน 4. Student Scholarship and 5. Comprehensive & Qualify Examination ทำการปรับปรุงโดยการเขียน Time Line ในการทำงานเพื่อให้เป็นแนวทางในการทำ ได้อย่างเป็นระบบ สำหรับผลลัพธ์ที่ได้จากการสัมภาษณ์ หลังดำเนินการปรับปรุงกระบวนการเจ้าหน้าที่สามารถที่จะจัดสรรเวลาของการดำเนินงาน รวมทั้งให้ความชัดเจนในหน้าที่ที่รับผิดชอบ เอกสาร และ ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินงานของแต่ละ Processเป็นอย่างดี และเป็นแรงจูงใจให้บุคคลภายนอกสนใจเข้ามาศึกษาในหลักสูตรการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตควรจะขยายขอบเขตงานวิจัยในระดับ คณะหรือมหาวิทยาลัยเพื่อให้เกิดการปรับปรุงในด้านการบริการและการศึกษาอย่างบูรณาการ
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University