Design and analysis framwork of path loss based on generic WiMAX models for Mahidol University : Salaya-Phayathai link
dc.contributor.advisor | Supaporn Kiattisin | |
dc.contributor.advisor | Adisorn Leelasantitham | |
dc.contributor.advisor | Waranyu wongseree | |
dc.contributor.author | Pornchai Ubol | |
dc.date.accessioned | 2024-02-07T02:14:25Z | |
dc.date.available | 2024-02-07T02:14:25Z | |
dc.date.copyright | 2013 | |
dc.date.created | 2013 | |
dc.date.issued | 2013 | |
dc.description | Technology of Information System Management (Mahidol University 2013) | |
dc.description.abstract | Broadband data communication systems have grown tremendously with the increasing high-speed for data transfers and demand for data communications in the berried areas to provide in the network infrastructure. Therefore, WiMAX network can have an important role for the service of transmitting the high-speed data and covering more areas. WiMAX network will use radio frequency range 2 - 11 GHz and the signal path loss that important for the design of WiMAX network. This paper presents a propagation path loss model to study the WiMAX network design between Mahidol University Salaya campus to Phayathai campus, by selecting the most suitable model to calculate the different radio frequency and the information height of the antenna. Therefore, it made calculation at 2.5GHz, 3.5GHz and 5GHz to determine the path loss of signal is based on distance for predicted the WiMAX network design. | |
dc.description.abstract | ระบบการสื่อสารข้อมูลแบบบรอดแบนด์ (Broadband) มีการเติบโตอย่างมากพร้อมกับความต้องการความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้นและความต้องการระบบสื่อสารข้อมูลในพื้นที่ที่มีอุปสรรคในการวางโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นแบบสายฉะนั้นระบบเครือข่ายไวแมกซ์ (WiMAX) จึงมีบทบาทในการลดข้อจำกัดเหล่านี้เพราะสามารถสนองตอบต่อการให้บริการในการ รับส่งข้อมูลที่ความเร็วสูงและให้การบริการครอบคลุมพื้นที่มากขึ้นซึ่งระบบไวแมกซ์ (WiMAX) นั้นจะใช้งานที่ความถี่ของคลื่นวิทยุย่านความถี่ 2- 11 GHz และการหาค่าการสูญเสียกำลัง (path loss)ของสัญญาณนั้นจะเป็นค่าที่แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพและความสามารถในการให้บริการ ของเครือข่ายซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญสำหรับการออกแบบระบบเครือข่ายไวแมกซ์ งานวิจัยนี้ได้นำเสนอการใช้แบบจำลองการสูญเสียกำลังสัญญาณ (Path loss model) เพื่อวิเคราะห์และการออกแบบระบบเครือข่ายไวแมกซ์ระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลวิทยาเขตศาลายา กับวิทยาเขตพญาไทโดยจะเลือกใช้แบบจำลองที่เหมาะสมกับพื้นที่มากที่สุดการคำนวณนี้จะใช้ ค่าความถี่ที่แตกต่างกันในการคำนวณคือ ความถี่ที่ 2.5 GHz, 3.5GHzและ 5GHz พร้อมทั้งข้อมูล ความสูงของเสาอากาศเพื่อหาค่าการสูญเสียกำลังตามระยะทางจากลักษณะสภาพแวดล้อมเพื่อนำ ผลที่ได้มาเป็นข้อมูลสำหรับการออกแบบระบบเครือข่ายไวแมกซ์ | |
dc.format.extent | xi, 74 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Technology of Information System Management))--Mahidol University, 2013 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95201 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Electromagnetic waves -- Diffraction | |
dc.subject | Wireless communication systems | |
dc.subject | Wireless sensor networks | |
dc.title | Design and analysis framwork of path loss based on generic WiMAX models for Mahidol University : Salaya-Phayathai link | |
dc.title.alternative | กรอบการออกแบบและวิเคราะห์การสูญเสียกำลังสัญญาณด้วยแบบจำลองไวแมกซ์สำหรับการเชื่อมต่อวิทยาเขตศาลายากับวิทยาเขตพญาไท มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2556/cd481/5336475.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Engineering | |
thesis.degree.discipline | Technology of Information System Management | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |