Psychological capital and mental health of remand prisoners in Thonburi Remand Prison
dc.contributor.advisor | Thienchai Ngamthipwatthana | |
dc.contributor.advisor | Woraphat Ratta-apha | |
dc.contributor.author | Thanaporn Poophalee | |
dc.date.accessioned | 2024-01-19T05:41:24Z | |
dc.date.available | 2024-01-19T05:41:24Z | |
dc.date.copyright | 2016 | |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 2016 | |
dc.description | Clinical Psychology (Mahidol University 2016) | |
dc.description.abstract | The purposes of this study were to study the levels of psychological capital (PsyCap) and mental health, to compare PsyCap and mental health by personal and criminal factors, and to investigate the relationship between PsyCap and mental health among remand prisoners. Participants were 356 remand prisoners at Thonburi Remand Prison. Data were collected from a personal and criminal data questionnaire, a Thai- Psychological Capital Inventory (TPCI), and a Thai Mental Health Questionnaire (TMHQ). The results found that participants had moderately high levels of PsyCap. There were significant difference in PsyCap by marital status, occupation before confinement, and family responsibilities. More than two thirds (67.8%) of participants had at least one mental health problem (51.7% of depression, 46% of somatization, 45.4% of anxiety, 27.3% of psychosis, and 8.5% of social function). There were significant differences in mental health by age, occupation before confinement, debt, savings in prison, type of prisoner, and number of confinement. Moreover, PsyCap had a negative correlation with all mental health dimensions (r= -.11 to r= -.48). | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับต้นทุนทางจิตวิทยาและสุขภาพจิต เปรียบเทียบต้นทุนทางจิตวิทยาและสุขภาพจิตตามปัจจัยส่วนบุคคลและคดี และหาระดับความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนทางจิตวิทยาและสุขภาพจิตของผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดี ผู้เข้าร่วมเป็นผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดีในเรือนจำพิเศษธนบุรี จำนวน 356 คน ข้อมูลถูกรวบรวมจากแบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคลและคดี แบบประเมินต้นทุนทางจิตวิทยาสำหรับคนไทย (TPCI) และแบบวัดสุขภาพจิตในคนไทย (TMHQ) ผลการศึกษา พบว่า ผู้ต้องขังมีระดับต้นทุนทางจิตวิทยาอยู่ในระดับค่อนข้างสูง และมีความแตกต่างกันตามสถานภาพสมรส อาชีพก่อนถูกคุมขัง และภาระรับผิดชอบในครอบครัว ในด้านสุขภาพจิต พบว่า มากกว่า 2 ใน 3 (67.8%) มีปัญหาสุขภาพจิตอย่างน้อย 1 ด้าน (อาการซึมเศร้า 51.7%, อาการทางกายเนื่องจากความผิดปกติทางจิต 46%, อาการวิตกกังวล 45.4%, อาการโรคจิต 27.3%, และการปรับตัวทางสังคม 8.5%) และมีความแตกต่างกันตามอายุ อาชีพก่อนถูกคุมขัง ภาระหนี้สิน เงินฝากในเรือนจำ ประเภทผู้ต้องขัง และจำนวนครั้งที่ถูกคุมขัง นอกจากนี้ต้นทุนทางจิตวิทยามีความสัมพันธ์ทางลบกับสุขภาพจิตทุกด้าน ( r= -.11 ถึง r= -.48) | |
dc.format.extent | viii, 77 leaves | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2016 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93262 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Human capital -- Psychological aspects | |
dc.subject | Prisoners -- Psychology | |
dc.subject | Prisoners -- Medical care -- Moral and ethical aspects -- Thailand | |
dc.title | Psychological capital and mental health of remand prisoners in Thonburi Remand Prison | |
dc.title.alternative | ต้นทุนทางจิตวิทยาและสุขภาพจิตของผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดีในเรือนจำพิเศษธนบุรี | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2558/510/5637902.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Medicine Siriraj Hospital | |
thesis.degree.discipline | Clinical Psychology | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |