Competencies and social entrepreneur competency development : case studies of activists on children and youth issues in Nan province

dc.contributor.advisorTeeradej Chai-Aroon
dc.contributor.advisorSupavan Phlainoi
dc.contributor.advisorPiyawat Boon-Long
dc.contributor.authorKanyarach Wongphuka
dc.date.accessioned2023-09-11T03:57:42Z
dc.date.available2023-09-11T03:57:42Z
dc.date.copyright2013
dc.date.created2013
dc.date.issued2023
dc.description.abstractThis research aimed to assess and develop the social entrepreneur competencies of social activists who work on children and youth issues in Nan Province. The researcher used the research and development approach to conduct this study with 32 research participants. The researcher collected data by using both quantitative and qualitative methods. The research was divided into two phases, namely 1) a social entrepreneur competency assessment, and 2) social entrepreneur competency development. Key research results can be summarized as follows: The social entrepreneur competency assessment research findings showed that most research participants possessed high levels of motivation, vision, emotional and social attributes, and ethics and virtue which are contributing attributes for social entrepreneur competency development. The researcher assessed research participants' knowledge and skills in eight model competencies, which are management, teamwork, networking, learning, fund raising, marketing, communication, and reporting and evaluation. The competency level was described into 4 levels composed of beginner, apply, master, and lead. The average score for overall competency was 2.76. The competency with the highest average score was learning followed by teamwork with the scores of 3.10 and 3.00, respectively. The competency with the lowest average score was fund raising at 2.34 followed by reporting and evaluation at 2.67 and management at 2.73. According to the grouping results of research participants, they were divided into two groups regarding their levels of competency. The first group, which consisted of 17 persons, possessed a high level of competency. The second group, which consisted of 15 persons, had a low level of competency. These two groups possessed different levels of competency at the significance level of 0.05. Three key approaches for competency development were self- directed learning, learning with other experiences, and performance training. More appropriate and innovative attribute development strategies that encourage more people to be social entrepreneurs should be developed and applied. Additionally, the sociocultural capital potency should be developed and maintained. Equally important, competency models should be properly applied and competency development approaches should be appropriately used with the target groups.
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินและพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการเพื่อสังคมในผู้ที่ขับเคลื่อน ประเด็นเด็กและเยาวชนในจังหวัดน่าน รูปแบบการวิจัยและพัฒนา มีหน่วยในการศึกษาระดับบุคคลจำนวน 32 คน ใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ แบ่งขั้นตอนการดำเนินงานออกเป็น 2 ระยะ คือ 1) ระยะวิจัยสมรรถนะผู้ประกอบการเพื่อสังคม 2) ระยะพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการเพื่อสังคม ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผลการประเมินสมรรถนะผู้ประกอบการเพื่อสังคมพบว่า กลุ่มผู้เข้าร่วมการวิจัยส่วนใหญ่มีคุณลักษณะที่เอื้อต่อการพัฒนาสมรรถนะให้เป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคมอยู่สูงคือ มีแรงจูงใจ มีความคิดวิสัยทัศน์และภาวะทางอารมณ์สังคมและคุณธรรมจริยธรรม ส่วนการประเมินสมรรถนะความรู้ ทักษะ ทั้ง 8 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ ด้านทีมงาน ด้านการสร้างเครือข่าย ด้านการเรียนรู้ ด้านการระดมทุน ด้านการสร้างการตลาด ด้านการสื่อสาร และด้านการรายงานและประเมินผล โดยจัดสมรรถนะเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ผู้เริ่มต้น ประยุกต์ใช้ ชำนาญ และการนำ พบว่ามีระดับค่าเฉลี่ยสมรรถนะโดยรวมเท่ากับ 2.76 และสมรรถนะที่มีระดับค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ ด้านการเรียนรู้ รองลงมาด้านการสร้างทีมงานมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.01 และ 3.00 ตามลำดับ ส่วนสมรรถนะที่ต่ำที่สุดได้แก่ สมรรถนะด้านการระดมทุนโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.34 รองลงมาได้แก่ ด้านการรายงานและการประเมินผล และด้านการบริหารจัดการโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.67 และ 2.73 ตามลำดับ ผลการจัดกลุ่มคนตามระดับสมรรถนะจัดแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีสมรรถนะสูงจำนวน 17 คนและกลุ่มที่มีสมรรถนะต่ำจำนวน 15 คน ทั้ง 2 กลุ่มมีระดับสมรรถนะแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการเพื่อสังคมในผู้ที่ขับเคลื่อนประเด็นเด็กและเยาวชนในจังหวัดน่าน สามารถจัดแบ่งได้ 3 แนวทางหลัก ๆ ได้แก่ การพัฒนาโดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง การพัฒนาโดยการเรียนรู้จากประสบการณ์ผู้อื่น และการพัฒนาโดยการฝึกอบรมปฏิบัติการ ข้อเสนอแนะควรมีกลยุทธ์พัฒนาคุณลักษณะคนรุ่นใหม่ให้เป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคมมากขึ้น ควร ธำรงรักษาและพัฒนาทุนทางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่มเป้ าหมายในพื้นที่ให้เข้มแข็ง และควรมีการปรับประยุกต์ใช้ตัวแบบสมรรถนะและการพัฒนาสมรรถนะให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมายที่จะพัฒนา
dc.format.extentix, 212 leaves
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (Ph.D. (Population Education))--Mahidol University, 2013
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89761
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectCommunity development -- Thailand -- Nan
dc.subjectSocial entrepreneurship -- Thailand -- Nan
dc.subjectYoung businesspeople -- Thailand -- Nan
dc.titleCompetencies and social entrepreneur competency development : case studies of activists on children and youth issues in Nan province
dc.title.alternativeสมรรถนะและการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการเพื่อสังคม : กรณีศึกษาผู้ที่ขับเคลื่อนประเด็นเด็กและเยาวชนในจังหวัดน่าน
dcterms.accessRightsrestricted access
mu.link.internalLinkhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2558/508/5037799.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Social Sciences and Humanities
thesis.degree.disciplinePopulation Education
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelDoctoral Degree
thesis.degree.nameDoctor of Philosophy

Files

Collections