แรงจูงใจในการพัฒนาตนเองของนักเรียนเปียโนเดี่ยวในโรงเรียนดนตรีเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Issued Date
2567
Copyright Date
2560
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 74 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิลด
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560
Suggested Citation
ญาณิน เปี่ยมศุภทรัพย์
แรงจูงใจในการพัฒนาตนเองของนักเรียนเปียโนเดี่ยวในโรงเรียนดนตรีเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560 . สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91838
Title
แรงจูงใจในการพัฒนาตนเองของนักเรียนเปียโนเดี่ยวในโรงเรียนดนตรีเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
Motivation of one-on-one piano students attending private music school in Bangkok
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การศึกษา เรื่อง แรงจูงใจในการพัฒนาตนเองของนักเรียนเปียโนเดี่ยว มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองของนักเรียนเปียโนเดี่ยว จำแนกตามกลุ่มผู้เรียนที่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง - ต่ำ ซึ่งการดำเนินการวิจัย ผู้ศึกษาจะใช้วิธีการทดสอบตามการสอบดนตรีของ Trinity College London และ ABRSM เพื่อนำมาสู่การกำหนดค่าของคะแนนในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีระดับสูง และระดับต่ำ ด้วยการตั้งเกณฑ์มากกว่า 70 ขึ้นไป และผู้ศึกษาจะใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเพื่อทำการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่ เป็นนักเรียนเปียโนเดี่ยว จำนวน 30 คน ซึ่งเป็นนักเรียนในเครือข่ายของผู้วิจัยเอง นำมาสู่การสรุปผลตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองของนักเรียนเปียโนเดี่ยว คือ ผู้ปกครองเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุด เนื่องจากการที่ผู้ปกครองสนับสนุนให้นักเรียนฟังเพลงดูคอนเสิร์ตเพื่อสร้างแรงจูงใจพัฒนาตนเองให้กับนักเรียน ทำให้มีความตั้งใจฝึกซ้อมถึงแม้ว่าจะรู้สึกยากก็ตาม ประกอบกับมีผู้ปกครองที่มีทักษะและความสามารถทางด้านดนตรี จึงเข้ามาฝึกซ้อมให้กับนักเรียนเปียโนเดี่ยวด้วย และหากนักเรียนเปียโนเดี่ยวต้องการที่จะเรียนเปียโนเพิ่มเติม ผู้ปกครองก็จะเพิ่มชั่วโมงเรียนให้มากกว่า 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เพราะในบางครั้งผู้เรียนก็ไม่สมารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองได้ ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะที่ไม่เพียงพอ ผู้ปกครองก็ควรจะต้องมีการส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้มีการศึกษาค้นหาความรู้เพิ่มเติม และควรพยายามให้ แรงบันดาลใจในการเรียนรู้ให้เพิ่มมากขึ้น
The objective of this study was to compare the motivation in the self-development of the solo pianist defined by the students with high and low achievement. The study used the test of Trinity College of London and ABRSM to set configuration of score at 70 points as a standard score. The study used questionnaires to collect data from 30 solo pianists. The study found that the important factors to motivate the solo pianist in self-development were parents. Due to the parents' encouragement, students listen to the concert and pay more attention to practice however, students found it difficult. Parents with skills in music and talented, they would practice their children themselves. Moreover, it was found that students need to practice more and parents had to spend more time with their children to practice if needed. Inspiration and encouragement from parents would improve student'skill in music
The objective of this study was to compare the motivation in the self-development of the solo pianist defined by the students with high and low achievement. The study used the test of Trinity College of London and ABRSM to set configuration of score at 70 points as a standard score. The study used questionnaires to collect data from 30 solo pianists. The study found that the important factors to motivate the solo pianist in self-development were parents. Due to the parents' encouragement, students listen to the concert and pay more attention to practice however, students found it difficult. Parents with skills in music and talented, they would practice their children themselves. Moreover, it was found that students need to practice more and parents had to spend more time with their children to practice if needed. Inspiration and encouragement from parents would improve student'skill in music
Description
ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2560)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Degree Discipline
ดนตรี
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล