การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ดามขาป้องกันข้อสะโพกเคลื่อนหลุด สำหรับผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก
dc.contributor.author | ศิวรักษ์ ขนอม | |
dc.contributor.author | นิดา วงศ์สวัสดิ์ | |
dc.date.accessioned | 2024-03-19T03:38:22Z | |
dc.date.available | 2024-03-19T03:38:22Z | |
dc.date.created | 2024-02-27 | |
dc.date.issued | 2017 | |
dc.description | การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ครั้งที่ 5 หัวข้อ “การบูรณาการสุขภาพผู้สูงอายุในยุค Thailand 4.0” อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, 5 เมษายน 2560 . หน้า 85-99 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอุปกรณ์ดามขาป้องกันข้อสะโพกเคลื่อนหลุดสำหรับผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก เนื่องจากผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกจะต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกวิธีและเปลี่ยนแปลงท่าทางต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน งานวิจัยนี้ออกแบบอุปกรณ์ดามขาเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนข้อสะโพกเทียมเคลื่อนหลุดที่เกิดในท่านอน ท่านั่ง และการเคลื่อนย้ายตนเองในท่านอนหงายจนมานั่งข้างเตียง โดยออกแบบให้อุปกรณ์ทำจากวัสดุที่หาได้ง่ายในประเทศไทย มีความปลอดภัย ใช้งานง่าย ดูแลรักษาง่าย สามารถปรับขนาดอุปกรณ์ให้เหมาะสมในแต่ละคนได้ และมีราคาไม่แพง จากนั้นนำอุปกรณ์มาตรวจสอบและสอบถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ 10 ท่าน พบว่าหัวข้อรูปทรง น้าหนัก ความสะดวกและง่ายต่อการใช้งาน ความปลอดภัย เคลื่อนย้ายสะดวก ความทนทาน ใช้แล้วได้ประโยชน์ และความคิดเห็นต่อภาพรวมอุปกรณ์มีระดับความเห็นด้วยระดับปานกลางขึ้นไปในทุก ๆ หัวข้อ โดยหัวข้อการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ได้สะดวกมีคะแนนความคิดเห็นมากที่สุดถึงร้อยละ 80 | |
dc.description.abstract | This research encompassed the design and development of a hip abduction device prototype. The device was designed to reduce the risk of dislocation after hip replacement surgery. The patients after hip replacement surgery would have to be properly rehabilitate and change movements to activity daily living. This research was designed and developed hip abduction device to prevent complications because wrong sleep position on the bed, wrong sitting position and move from sleep position to wrong sitting beside the bed. The design used readily available materials in Thailand. It was developed to be safe, easy to use, easy to maintenance, can be adjusted to an appropriate size for each individual patient and inexpensive. The developed device must pass feedback from 10 various specialists. The opinion of 10 specialists, there are many topics in a satisfaction questionnaire such as shape, weight, easy to use, safety, portable, durable, benefit, overall device. All topic of questionnaire have moderate to highest and the topic’s the highest score is portable (80%). | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | นิดา วงศ์สวัสดิ์ และศิวรักษ์ ขนอม (2560). การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ดามขาป้องกันข้อสะโพกเคลื่อนหลุด สำหรับผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก. หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ประจำปี 2560 ครั้งที่5 : หน้า85-99. | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/97651 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | อุปกรณ์ดามขา | |
dc.subject | ผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก | |
dc.subject | ข้อสะโพกเทียมเคลื่อนหลุด | |
dc.subject | hip abduction device | |
dc.subject | post operation hip replacement | |
dc.subject | hip dislocation | |
dc.title | การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ดามขาป้องกันข้อสะโพกเคลื่อนหลุด สำหรับผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก | |
dc.title.alternative | Research and development hip abduction device to prevent hip dislocation for post operation hip replacement | |
dc.type | Proceeding Article | |
dcterms.accessRights | Open access | |
oaire.citation.endPage | 99 | |
oaire.citation.startPage | 85 | |
oaire.citation.volume | ครั้งที่5 | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก | |
oairecerif.event.country | ไทย | |
oairecerif.event.name | การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ประจำปี 2560 ครั้งที่5 | |
oairecerif.event.place | อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา |