The development of a liveable agricultural community through community-based natural resource management : a case study of Salaengphan sub-district, Lamplaimat district, Burirum province, Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 104 leaves : ill., maps
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Livable City Management and Environmental Sustainability))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Imporn Ardbutra The development of a liveable agricultural community through community-based natural resource management : a case study of Salaengphan sub-district, Lamplaimat district, Burirum province, Thailand. Thesis (M.Sc. (Livable City Management and Environmental Sustainability))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91804
Title
The development of a liveable agricultural community through community-based natural resource management : a case study of Salaengphan sub-district, Lamplaimat district, Burirum province, Thailand
Alternative Title(s)
การพัฒนาชุมชนเกษตรกรรมน่าอยู่บนพื้นฐานของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชน กรณีศึกษาตำบลแสลงพัน อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objective of this research is to analyse the sustainable livelihoods and agricultural supply chain of Salaengphan community and to develop guidelines for community-based natural resource management (CBNRM) for the agricultural sector in this community. The quantitative and qualitative data were collected from representatives of governmental and private sector, community leaders, and consumers. A total of 146 farmers were randomly selected from four villages of Salaengphan sub-district. Data were collected using questionnaires, in-depth interviews, and focus group discussion. The sustainable livelihood assets were analysed, and the results indicated that in terms of human capital, the farmers are proud of their occupation, which provides sufficient income, and want their children to become farmers. For the social capital, farmers have mostly participated in activities with the Royal Development Learning Centre of Salaengphan sub-district and are actively involved with a pilot groundwater scheme for the agriculture cooperative group. Regarding natural capital, the soil quality is fertile. The community has access to natural water sources. The physical capital covers all the basic infrastructure such as agricultural water pipes, roads, and electricity, which are provided to the community. In terms of financial capital, the farmers have access to the village or cooperative funds. Furthermore, the agricultural supply chain is involved with rice and vegetables. Some farmers have been certified by Good Agricultural Practices (GAP). However, most of the farmers are still utilising chemicals in their agricultural practice. They normally grow, harvest, and sell to middlemen. Some of the vegetables are delivered to a local supermarket as a part of a CSR programme. In the past, before the pilot groundwater project was implemented, the community suffered from water scarcity. Currently, farmers are facing problems of plant disease and insects. Farmers do not have enough money to purchase seeds and machinery. To achieve a liveable agricultural community, the community members have set the vision "Farmers will work together in order to cultivate organic vegetables". CBNRM guidelines have been developed through the focus group discussion as follows: to implement zoning for organic agriculture, to create and strengthen the farmer leaders in organic agriculture, and to raise awareness of organic agriculture.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนการดำรงชีวิตและห่วงโซ่อุปทานด้านการเกษตร และ เพื่อพัฒนาแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยพื้นฐานของชุมชนของภาคเกษตรชุมชนตำบลแสลงพัน ซึ่งมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเกษตรกรและผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้นำชุมชน และผู้บริโภคโดยใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ต้นทุนในการดำรงชีวิตด้านต้นทุนมนุษย์คือ เกษตรกรส่วนใหญ่มีความภูมิใจในการประกอบอาชีพและคิดว่าเกษตรกรเป็นอาชีพที่สร้างรายได้เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ และเกษตรกรต้องการให้ลูกหลานประกอบอาชีพเกษตรกรรม สำหรับต้นทุนทางสังคม เกษตรกรส่วนใหญ่ ร่วมกิจกรรมกับศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นสมาชิกกลุ่มสหกรณ์โครงการนำร่องน้ำบาดาลเพื่อการเกษตร ทางด้านต้นทุนธรรมชาติ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ คุณภาพดี ทางด้านต้นทุนทางกายภาพ เกษตรกรเข้าถึงระบบโครงสร้างพื้นฐานในการดำรงชีพและการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และด้านต้นทุนทางการเงิน เกษตรกรเข้าถึงกองทุนหมู่บ้านหรือสหกรณ์ สำหรับผลวิเคราะห์ห่วงโซ่เกษตรอุปทาน พบว่า เกษตรกรปลูกข้าวและปลูกผักที่มีการใช้สารเคมีเป็นส่วนใหญ่ บางแปลงเกษตรได้รับรองมาตรฐานเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) และลักษณะของการทำการเกษตรคือ ทำการเพาะปลูกเอง และขายให้พ่อค้าคนกลาง สำหรับผักปลอดสารพิษมีการจัดส่งไปยังซุปเปอร์มาร์เก็ต ในท้องถิ่น ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) ในอดีตก่อนที่จะการริเริ่มโครงการนำร่องการศึกษาการพัฒนาน้ำบาดาลเพื่อการเกษตร ปัญหาทางเกษตรกรรมหลัก คือ ปัญหาโรคพืชและแมลง และไม่มีทุนในการซื้อเมล็ดพันธุ์ และการที่จะนำไปสู่ชุมชนเกษตรกรรมน่าอยู่ ชุมชนมีวิสัยทัศน์ คือ ชุมชนต้องการรวมกลุ่มกันเพื่อการทำเกษตรอินทรีย์ และผลที่ได้จากสนทนากลุ่มคือ แนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยพื้นฐานของชุมชน คือ การดำเนินงานจัดทำแผนที่เขตพื้นที่ (Zoning) สำหรับพื้นที่เพาะปลูกเกษตรอินทรีย์ การสร้างเกษตรกรผู้นำทางด้านเกษตรอินทรีย์ และเพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ในด้านเกษตรอินทรีย์
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนการดำรงชีวิตและห่วงโซ่อุปทานด้านการเกษตร และ เพื่อพัฒนาแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยพื้นฐานของชุมชนของภาคเกษตรชุมชนตำบลแสลงพัน ซึ่งมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเกษตรกรและผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้นำชุมชน และผู้บริโภคโดยใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ต้นทุนในการดำรงชีวิตด้านต้นทุนมนุษย์คือ เกษตรกรส่วนใหญ่มีความภูมิใจในการประกอบอาชีพและคิดว่าเกษตรกรเป็นอาชีพที่สร้างรายได้เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ และเกษตรกรต้องการให้ลูกหลานประกอบอาชีพเกษตรกรรม สำหรับต้นทุนทางสังคม เกษตรกรส่วนใหญ่ ร่วมกิจกรรมกับศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นสมาชิกกลุ่มสหกรณ์โครงการนำร่องน้ำบาดาลเพื่อการเกษตร ทางด้านต้นทุนธรรมชาติ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ คุณภาพดี ทางด้านต้นทุนทางกายภาพ เกษตรกรเข้าถึงระบบโครงสร้างพื้นฐานในการดำรงชีพและการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และด้านต้นทุนทางการเงิน เกษตรกรเข้าถึงกองทุนหมู่บ้านหรือสหกรณ์ สำหรับผลวิเคราะห์ห่วงโซ่เกษตรอุปทาน พบว่า เกษตรกรปลูกข้าวและปลูกผักที่มีการใช้สารเคมีเป็นส่วนใหญ่ บางแปลงเกษตรได้รับรองมาตรฐานเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) และลักษณะของการทำการเกษตรคือ ทำการเพาะปลูกเอง และขายให้พ่อค้าคนกลาง สำหรับผักปลอดสารพิษมีการจัดส่งไปยังซุปเปอร์มาร์เก็ต ในท้องถิ่น ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) ในอดีตก่อนที่จะการริเริ่มโครงการนำร่องการศึกษาการพัฒนาน้ำบาดาลเพื่อการเกษตร ปัญหาทางเกษตรกรรมหลัก คือ ปัญหาโรคพืชและแมลง และไม่มีทุนในการซื้อเมล็ดพันธุ์ และการที่จะนำไปสู่ชุมชนเกษตรกรรมน่าอยู่ ชุมชนมีวิสัยทัศน์ คือ ชุมชนต้องการรวมกลุ่มกันเพื่อการทำเกษตรอินทรีย์ และผลที่ได้จากสนทนากลุ่มคือ แนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยพื้นฐานของชุมชน คือ การดำเนินงานจัดทำแผนที่เขตพื้นที่ (Zoning) สำหรับพื้นที่เพาะปลูกเกษตรอินทรีย์ การสร้างเกษตรกรผู้นำทางด้านเกษตรอินทรีย์ และเพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ในด้านเกษตรอินทรีย์
Description
Livable City Management and Environmental Sustainability (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Livable City Management and Environmental Sustainability
Degree Grantor(s)
Mahidol University