The quality of new generation teachers in Thai context
Issued Date
2024
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 262 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Population Education))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Jatuporn Wisitchotiaungkoon The quality of new generation teachers in Thai context. Thesis (Ph.D. (Population Education))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92253
Title
The quality of new generation teachers in Thai context
Alternative Title(s)
คุณภาพครูรุ่นใหม่ในบริบทสังคมไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This qualitative research was aimed at studying the concept of the quality of new generation teachers in the Thai social context and to study individualistic and institutional factors, and the processes related to new generation teachers. The target population included teachers, panel of professional individuals, experts, and students. Findings revealed that the concepts of quality new generation teachers were 1) new generation teachers competencies (knowledge and skills), 2) Attitudes and values, and 3) Capability of building healthy relationships in a multicultural society. The factors that affected the quality of the new generation teachers were individual and institutional factors, and the development process. It was revealed that individual factors of the two groups of the new generation during childhood had both similarities and differences. In terms of institutional factors that produce teachers, both groups showed some similarities, including factors that have made them become interested in the teaching career, the learning atmosphere at the institutions, quality of teachers at the institutions, and the learning experiences. Teacher-development institutions were in the area of Primary Educational Service Area Office with internal and external institutions of Ministry of Education that take parts in various forms of developing teachers. Teacher developments could be categorized into two ways, developing plans at the present, and 2) developing plans that are related to contexts which are physical environment of the institutions, educational policies, and learning environment for individuals and the learning processes. The developmental processes related to the quality of new generation teachers included; the current processes that were related to quality of new generation teachers, institutions that prepared for the new teacher registration and the continuous improvement process. Teacher-utilizing institutions developed teachers by task delegation, mentoring system, learning community, training and field trips. Recommendations for developing new generation teachers in Thai social context are categorized into Individual level, having three conditions; (1) Passion to learn, (2) Self-assessment, and (3) English Proficiency. Before the self-development, three ways were identified, self-learning, learning through learning community, and learning through high-quality and efficient training system with follow-up and evaluation plans. At the institutional level, focus was on building teaching experiences, and developing teaching and learning processes. For developing new generation teachers at institutional level, especially for Primary Educational Service Area Office, focus should be on how to prepare new generation teachers to become coaches and mentors, where teacher-utilizing institutions should focus on considering heads of schools, learning communities, and promoting network collaboration development.
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามโนทัศน์คุณภาพของครูรุ่นใหม่และศึกษาปัจจัยเชิงปัจเจกบุคคล ปัจจัยเชิงสถาบัน กระบวนการพัฒนาที่สัมพันธ์กับคุณภาพครูรุ่นใหม่ ตลอดจนพัฒนาข้อเสนอการพัฒนาคุณภาพครูรุ่นใหม่ในบริบทสังคมไทย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ มีกลุ่มเป้าหมายการวิจัยเป็นครูรุ่นใหม่ (กลุ่มครูทั่วไปและกลุ่มครูแนวใหม่) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญและกลุ่มผู้เรียน ผลการวิจัยพบว่า กรอบมโนทัศน์คุณภาพครูรุ่นใหม่ในบริบทสังคมไทย 3 ด้าน ได้แก่ 1) สมรรถนะของครูรุ่นใหม่ (ความรู้และทักษะ) 2) คุณลักษณะรวมไปถึงเจตคติ และค่านิยม และ 3) ความสามารถในการอยู่ร่วมกันและสร้างความสัมพันธ์อันดีในสังคมพหุวัฒนธรรม ปัจจัยที่ส่งผลคุณภาพครูรุ่นใหม่ได้แก่ ปัจจัยเชิงปัจเจกบุคคล ปัจจัยเชิงสถาบัน และกระบวนการพัฒนาครูรุ่นใหม่ พบว่าปัจจัยเชิงปัจเจกบุคคลในวัยเด็กของครูรุ่นใหม่ทั้งสองกลุ่มมีทั้งคล้ายคลึงและความแตกต่างกัน ด้านปัจจัยเชิงสถาบันผลิตครูมีปัจจัยที่ส่งผลต่อครูรุ่นใหม่ทั้งสองกลุ่มคล้ายคลึงกันได้แก่ เงื่อนไขเบื้องต้นที่ทำให้เกิดความสนใจและความชอบวิชาชีพครู,บรรยากาศการเรียนรู้ในสถาบันการผลิตครู,คุณภาพของอาจารย์ในสถาบันผลิตครูและการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู,สถาบันพัฒนาครูมุ่งเน้นในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีหน่วยงานทั้งในและนอกกระทรวงศึกษาธิการที่มีส่วนในการพัฒนาครู มีกระบวนการพัฒนาครูที่หลากหลาย การพัฒนาครูจะแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นได้แก่ 1) รูปแบบหรือวิธีการพัฒนาครูที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และ2) รูปแบบหรือวิธีการพัฒนาครูที่สอดคล้องกับบริบทจริง สถาบันที่ใช้ครูมีปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพครู ดังนี้ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพของสถานศึกษา, นโยบายสถานศึกษา,ปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางด้านบุคคลและปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางด้านการเรียนรู้ ในด้านกระบวนการพัฒนาที่สัมพันธ์กับคุณภาพครูรุ่นใหม่ ได้แก่ กระบวนการพัฒนาในปัจจุบันที่สัมพันธ์กับคุณภาพครูรุ่นใหม่ ในสถาบันพัฒนาครูมุ่งในการเตรียมความพร้อมครูที่บรรจุใหม่และสร้างกระบวนการพัฒนาที่ต่อเนื่อง ส่วนสถาบันใช้ครูพัฒนาครูผ่านการมอบหมายงาน,ระบบพี่เลี้ยง,ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ,การอบรมและศึกษาดูงาน ข้อเสนอแนะการพัฒนาคุณภาพครูรุ่นใหม่ในบริบทสังคมไทย ได้แบ่งออกเป็น 4 ส่วนได้แก่ 1) ข้อเสนอในการพัฒนาครูรุ่นใหม่ในระดับปัจเจกบุคคล มีเงื่อนไขเบื้องต้น 3 ข้อ ได้แก่ 1) ฉันทะในการเรียนรู้ 2) การประเมินตนเอง และ 3) ทักษะ ภาษาอังกฤษ ก่อนนำไปสู่การพัฒนาตนเองใน 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) วิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยการพัฒนาการเรียนรู้ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และระบบการฝึกอบรมครูที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูง มีการติดตามและประเมินผล 2) ข้อเสนอในสถาบันผลิตครู มุ่งเน้นด้านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน ในสถาบันการผลิตครู 3) ข้อเสนอในการพัฒนาครูรุ่นใหม่ในระดับสถาบันพัฒนาครู ให้ความสำคัญกับหน่วยงานที่รับผิดชอบการพัฒนาครูในการเตรียมความพร้อมและกระบวนการพัฒนาคุณภาพครูรุ่นใหม่ลักษณะของการโค้ชและพี่เลี้ยง 4) ข้อเสนอสถาบันใช้ครูปัจจัยที่ควรพิจารณาได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา,ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และการส่งเสริมให้มีการพัฒนาแบบเครือข่ายความร่วมมือ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามโนทัศน์คุณภาพของครูรุ่นใหม่และศึกษาปัจจัยเชิงปัจเจกบุคคล ปัจจัยเชิงสถาบัน กระบวนการพัฒนาที่สัมพันธ์กับคุณภาพครูรุ่นใหม่ ตลอดจนพัฒนาข้อเสนอการพัฒนาคุณภาพครูรุ่นใหม่ในบริบทสังคมไทย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ มีกลุ่มเป้าหมายการวิจัยเป็นครูรุ่นใหม่ (กลุ่มครูทั่วไปและกลุ่มครูแนวใหม่) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญและกลุ่มผู้เรียน ผลการวิจัยพบว่า กรอบมโนทัศน์คุณภาพครูรุ่นใหม่ในบริบทสังคมไทย 3 ด้าน ได้แก่ 1) สมรรถนะของครูรุ่นใหม่ (ความรู้และทักษะ) 2) คุณลักษณะรวมไปถึงเจตคติ และค่านิยม และ 3) ความสามารถในการอยู่ร่วมกันและสร้างความสัมพันธ์อันดีในสังคมพหุวัฒนธรรม ปัจจัยที่ส่งผลคุณภาพครูรุ่นใหม่ได้แก่ ปัจจัยเชิงปัจเจกบุคคล ปัจจัยเชิงสถาบัน และกระบวนการพัฒนาครูรุ่นใหม่ พบว่าปัจจัยเชิงปัจเจกบุคคลในวัยเด็กของครูรุ่นใหม่ทั้งสองกลุ่มมีทั้งคล้ายคลึงและความแตกต่างกัน ด้านปัจจัยเชิงสถาบันผลิตครูมีปัจจัยที่ส่งผลต่อครูรุ่นใหม่ทั้งสองกลุ่มคล้ายคลึงกันได้แก่ เงื่อนไขเบื้องต้นที่ทำให้เกิดความสนใจและความชอบวิชาชีพครู,บรรยากาศการเรียนรู้ในสถาบันการผลิตครู,คุณภาพของอาจารย์ในสถาบันผลิตครูและการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู,สถาบันพัฒนาครูมุ่งเน้นในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีหน่วยงานทั้งในและนอกกระทรวงศึกษาธิการที่มีส่วนในการพัฒนาครู มีกระบวนการพัฒนาครูที่หลากหลาย การพัฒนาครูจะแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นได้แก่ 1) รูปแบบหรือวิธีการพัฒนาครูที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และ2) รูปแบบหรือวิธีการพัฒนาครูที่สอดคล้องกับบริบทจริง สถาบันที่ใช้ครูมีปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพครู ดังนี้ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพของสถานศึกษา, นโยบายสถานศึกษา,ปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางด้านบุคคลและปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางด้านการเรียนรู้ ในด้านกระบวนการพัฒนาที่สัมพันธ์กับคุณภาพครูรุ่นใหม่ ได้แก่ กระบวนการพัฒนาในปัจจุบันที่สัมพันธ์กับคุณภาพครูรุ่นใหม่ ในสถาบันพัฒนาครูมุ่งในการเตรียมความพร้อมครูที่บรรจุใหม่และสร้างกระบวนการพัฒนาที่ต่อเนื่อง ส่วนสถาบันใช้ครูพัฒนาครูผ่านการมอบหมายงาน,ระบบพี่เลี้ยง,ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ,การอบรมและศึกษาดูงาน ข้อเสนอแนะการพัฒนาคุณภาพครูรุ่นใหม่ในบริบทสังคมไทย ได้แบ่งออกเป็น 4 ส่วนได้แก่ 1) ข้อเสนอในการพัฒนาครูรุ่นใหม่ในระดับปัจเจกบุคคล มีเงื่อนไขเบื้องต้น 3 ข้อ ได้แก่ 1) ฉันทะในการเรียนรู้ 2) การประเมินตนเอง และ 3) ทักษะ ภาษาอังกฤษ ก่อนนำไปสู่การพัฒนาตนเองใน 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) วิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยการพัฒนาการเรียนรู้ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และระบบการฝึกอบรมครูที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูง มีการติดตามและประเมินผล 2) ข้อเสนอในสถาบันผลิตครู มุ่งเน้นด้านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน ในสถาบันการผลิตครู 3) ข้อเสนอในการพัฒนาครูรุ่นใหม่ในระดับสถาบันพัฒนาครู ให้ความสำคัญกับหน่วยงานที่รับผิดชอบการพัฒนาครูในการเตรียมความพร้อมและกระบวนการพัฒนาคุณภาพครูรุ่นใหม่ลักษณะของการโค้ชและพี่เลี้ยง 4) ข้อเสนอสถาบันใช้ครูปัจจัยที่ควรพิจารณาได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา,ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และการส่งเสริมให้มีการพัฒนาแบบเครือข่ายความร่วมมือ
Description
Population Education (Mahidol University 2016)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Population Education
Degree Grantor(s)
Mahidol University