Cytotoxic effect of compounds isolated from Goniothalamus marcanii Craib stem barks
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xviii, 170 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Kornkamol Thienthiti Cytotoxic effect of compounds isolated from Goniothalamus marcanii Craib stem barks. Thesis (M.Sc. (Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93322
Title
Cytotoxic effect of compounds isolated from Goniothalamus marcanii Craib stem barks
Alternative Title(s)
ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของสารจากเปลือกต้นข้าวหลาม
Author(s)
Abstract
Goniothalamus marcanii Craib (synonym of Goniothalamus tamirensis Pierre ex Finet & Gagnep) belongs to the Annonaceae family, locally known as Khao Lam in Thai. One study showed that the isolated compounds from stem barks exhibited a highly cytotoxic effect to human tumor cell lines. The objective of this study was to investigate the compounds which showed cytotoxic effect. The methods for isolation was a column chromatography, while the structures were identified by the spectroscopic methods. The bioactivity was determined by using SRB assay. The results showed that four compounds, a styryl-lactone (+)-goniodiol (1) and three alkaloids ouregidione (2) noraristolodione (3) velutinam (4) were isolated from G. marcanii stem barks. Compound 3 possessed the strongest activity (ED50 35.56 and 50.75 μM), for A549 (lung) cells and HeLa (cervix) cells, respectively. The compounds displayed cytotoxic activity but less than that of doxorubicin a conventional chemotherapeutic drug, the ED50 levels of which were 0.13 and 0.12 μM for A549 and HeLa cells, respectively. On the other hand, compound 2 and 4 which could be evaluated from selective index values (SI 1.25 and 1.70, respectively) showed lower toxicity toward normal cells (MRC5) than doxorubicin (SI = 1.07). From this study, G. marcanii stem barks found to be a new source of compounds 1-4. In addition, the investigation of compound 3 for cytotoxic activity and the evaluation of compounds 1 and 2 for cytotoxic activity to HeLa cell line have been reported for the first time. Likewise, compound 4 was first evaluated for cytotoxic activity to A549 cell line.
Goniothalamus marcanii Craib (ชื่อพ้อง Goniothalamus tamirensis Pierre ex Finet & Gagnep) วงศ์ Annonaceae มีชื่อไทยว่า ข้าวหลาม จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า เปลือกต้นมีสารสำคัญที่เป็น พิษต่อเซลล์มะเร็ง วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อศึกษาหาสารสำคัญและทดสอบความเป็นพิษต่อ เซลล์มะเร็งของสารที่แยกได้ เทคนิคที่ใช้ในการแยกได้แก่ column chromatography ได้หาโครงสร้างสาร ด้วยวิธีทางสเปกโตรสโคปี (UV, IR, MS, optical rotation, 1D และ 2D NMR) และทดสอบฤทธิ์ด้วยวิธี SRB assay ผลการวิจัยพบว่า สาร 4 ตัวที่แยกได้จากเปลือกต้น G. marcanii เป็นสารกลุ่ม styryl lactone คือ (+)- goniodiol (1) และกลุ่ม alkaloids คือ ouregidione (2), noraristolodione (3) และ velutinam (4) โดยสารตัวที่ 3 มีฤทธิ์ เป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งได้สูงที่สุดต่อเซลล์มะเร็งปอด (A549) และเซลล์มะเร็งปากมดลูก (HeLa) ที่ ค่า ED50 35.63 μM และ 35.29 μM ตามลำดับแต่มีฤทธิ์น้อยกว่ายาที่ใช้รักษาโรคมะเร็งคือ doxorubicin (ED50 0.13 และ 0.12 μM สำหรับเซลล์มะเร็งปอดและปากมดลูก ตามลำดับ) แต่สารตัวที่ 2 และ 4 พบความ เป็นพิษต่อเซลล์ปกติ (MRC5) น้อยกว่าโดยมีค่า selective index (SI) เท่ากับ 1.25 และ 1.70 ตามลำดับ เมื่อ เทียบกับ doxorubicin ที่มีค่า SI เท่ากับ 1.07 การศึกษานี้เป็นการสกัดแยกสารตัวที่ 1,2, 3, และ 4 ได้เป็นครั้ง แรกจากเปลือกต้นข้าวหลาม นอกจากนี้ยังเป็นครั้งแรกของการพิสูจน์ฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของ สารตัวที่ 3 และฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งปากมดลูกของสารตัวที่ 1 และ 2 และสารตัวที่ 4 ได้ทดสอบ ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งปอดเป็นครั้งแรก
Goniothalamus marcanii Craib (ชื่อพ้อง Goniothalamus tamirensis Pierre ex Finet & Gagnep) วงศ์ Annonaceae มีชื่อไทยว่า ข้าวหลาม จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า เปลือกต้นมีสารสำคัญที่เป็น พิษต่อเซลล์มะเร็ง วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อศึกษาหาสารสำคัญและทดสอบความเป็นพิษต่อ เซลล์มะเร็งของสารที่แยกได้ เทคนิคที่ใช้ในการแยกได้แก่ column chromatography ได้หาโครงสร้างสาร ด้วยวิธีทางสเปกโตรสโคปี (UV, IR, MS, optical rotation, 1D และ 2D NMR) และทดสอบฤทธิ์ด้วยวิธี SRB assay ผลการวิจัยพบว่า สาร 4 ตัวที่แยกได้จากเปลือกต้น G. marcanii เป็นสารกลุ่ม styryl lactone คือ (+)- goniodiol (1) และกลุ่ม alkaloids คือ ouregidione (2), noraristolodione (3) และ velutinam (4) โดยสารตัวที่ 3 มีฤทธิ์ เป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งได้สูงที่สุดต่อเซลล์มะเร็งปอด (A549) และเซลล์มะเร็งปากมดลูก (HeLa) ที่ ค่า ED50 35.63 μM และ 35.29 μM ตามลำดับแต่มีฤทธิ์น้อยกว่ายาที่ใช้รักษาโรคมะเร็งคือ doxorubicin (ED50 0.13 และ 0.12 μM สำหรับเซลล์มะเร็งปอดและปากมดลูก ตามลำดับ) แต่สารตัวที่ 2 และ 4 พบความ เป็นพิษต่อเซลล์ปกติ (MRC5) น้อยกว่าโดยมีค่า selective index (SI) เท่ากับ 1.25 และ 1.70 ตามลำดับ เมื่อ เทียบกับ doxorubicin ที่มีค่า SI เท่ากับ 1.07 การศึกษานี้เป็นการสกัดแยกสารตัวที่ 1,2, 3, และ 4 ได้เป็นครั้ง แรกจากเปลือกต้นข้าวหลาม นอกจากนี้ยังเป็นครั้งแรกของการพิสูจน์ฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของ สารตัวที่ 3 และฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งปากมดลูกของสารตัวที่ 1 และ 2 และสารตัวที่ 4 ได้ทดสอบ ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งปอดเป็นครั้งแรก
Description
Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Pharmacy
Degree Discipline
Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry
Degree Grantor(s)
Mahidol University