Cyberbullying behavior in 4th-6th grade students of a Bangkok Municipal School : a qualitative study

dc.contributor.advisorChanvit Pornnoppadol
dc.contributor.advisorSuporn Apinuntavech
dc.contributor.advisorWimontip Musikaphan
dc.contributor.authorChatchadaporn Promnork
dc.date.accessioned2024-01-25T04:06:52Z
dc.date.available2024-01-25T04:06:52Z
dc.date.copyright2015
dc.date.created2024
dc.date.issued2015
dc.descriptionChild, Adolescent and Family Psychology (Mahidol University 2015)
dc.description.abstractThis research aimed to study the behavior pattern and coping strategies of students affected by cyberbullying in an upper elementary school. The study was both a quantitative and qualitative research using a questionnaire to survey the internet usage among 200 students of grade 4-6 of a Bangkok municipal school, to find the students' experiences on cyberbullying. The qualitative were divided into four categories: the perpetrators, the victims, the supporters, and the observers. The study found five children who experienced cyberbullying and proceed to the in-depth interviews with all of them as victims. The forms of bullying they encountered were: 1. after forgetting to logout from Facebook, they were subrogated to do various things such as posting sex and pornography, condemning others, abusing friends and relatives and 2. Posting nude photos on the victim's Facebook wall. The perpetrators usually were older students and even relatives with dissension. The study also revealed that 1) when faced with problems, children tended to cope with the problem by using the simplest temporal resolutions, were not the best, 2) good relationships between family members and personal school help solve the problem effectively, 3) some victims wanted to revenge, but they those not to because the situation at that time was not appropriate. 4) The victims mentioned that the cyberbullying experiences did not affect their studying at school
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและรูปแบบการข่มเหงรังแกกันบนโลกไซเบอร์ ในนักเรียนระดับประถมศึกษา รวมถึงรูปแบบการจัดการกับสถานการณ์ข่มเหงรังแกที่เกิดขึ้น การศึกษานี้ได้ออกแบบให้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถาม สำรวจนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 200 คน สำรวจการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของเด็ก และค้นหาผู้ที่เข้าข่ายมีประสบการณ์การข่มเหงรังแกกันบนโลกไซเบอร์จากนั้นจึงใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพทำการสัมภาษณ์แบบกลุ่ม แล้วจึงนำเข้าสู่การสัมภาษณ์เชิงลึกเฉพาะนักเรียนที่เคยมีประสบการณ์การข่มเหงรังแกกันบโลกไซเบอร์ โดยแบ่งเป็นกลุ่มผู้ข่มเหงรังแก ผู้ถูกข่มเหงรังแก ผู้สนับสนุนและผู้พบเห็น ผลการศึกษาพบว่ามีเด็กที่มีประสบการณ์การข่มเหงรังแกกันบโลกไซเบอร์มีจำนวน 5 ราย ทั้งหมดเป็นผู้ถูกข่มเหงรังแก รูปแบบที่พบได้แก่ 1. การลืมออกจากระบบ แล้วถูกสวมรอยทำสิ่งต่าง ๆ เช่น โพสเกี่ยวกับเรื่องเพศและเรื่องลามก ชวนทะเลาะวิวาท ด่าทอเพื่อนและญาติพี่น้องและ 2. การโพสข้อมูลรูปภาพเปลือยของเจ้าของเพซบุ๊ค ผู้ที่ถูกสงสัยว่าเป็นผู้ข่มเหงรังแก มักเป็นรุ่นพี่ นักเรียนชั้นมัธยม หรือประถมปลาย ทั้งที่อยู่ในโรงเรียนเดียวกันและต่างโรงเรียน รวมทั้งญาติพี่น้องที่มีปัญหาไม่ลงรอยกัน การศึกษาครั้งนี้ยังพบว่า 1) เมื่อเผชิญกับปัญหาเด็กมักจะเลือกใช้วิธีแก้ปัญหาแบบที่จบทันที ณ ขณะนั้น 2) สัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิกในบ้าน และในโรงเรียน มีผลต่อการจัดการปัญหา 3) จากประสบการณ์ที่เป็นผู้ถูกกระทำ มีในบางมุมมองที่ผู้ถูกกระทำยอมรับว่ายังผูกใจเจ็บ แต่ที่ไม่ตอบโต้กลับในปัจจุบันเพราะสถานการณ์ยังไม่เอื้ออำนวย 4) ผู้ถูกข่มเหงรังแกให้ข้อมูลว่าไม่มีผลกระทบต่อผลการเรียน
dc.format.extentxii, 97 leaves : col. ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Child, Adolescent and Family Psychology))--Mahidol University, 2015
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94015
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectBullying in schools -- Thailand -- Bangkok
dc.subjectBullying in schools -- Prevention
dc.subjectInternet addiction
dc.titleCyberbullying behavior in 4th-6th grade students of a Bangkok Municipal School : a qualitative study
dc.title.alternativeพฤติกรรมการข่มเหงรังแกกันบนโลกไซเบอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร การศึกษาเชิงคุณภาพ
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2559/cd514/5638591.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Medicine Ramathibodi Hospital
thesis.degree.disciplineChild, Adolescent and Family Psychology
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files