Promoting 21st century skills in early childhood by aesthetics of music : a systematic review
Issued Date
2024
Copyright Date
2020
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 37 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2020
Suggested Citation
Natta Bhumadhana Promoting 21st century skills in early childhood by aesthetics of music : a systematic review. Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2020. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92128
Title
Promoting 21st century skills in early childhood by aesthetics of music : a systematic review
Alternative Title(s)
การทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการส่งเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในเด็กปฐมวัยด้วยสุนทรียศาสตร์ของดนตรี
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objectives of this study is to determine the impact of aesthetic music in early childhood cognitive neuroscience in preparation for the 21st-century by using a systematic review study. Electronic databases were searched from October to November 2018. Research articles were chosen for analysis based on the following criteria: published in English, peerreviewed journals, and provided impact factors from 2008 to 2018. The study evaluated the effects of music intervention with at least one normal child, aged 3 to 6 years old. The study included measurement of at least one dependent variable related to cognitive neuroscience skills. Articles were extracted as text files and imported into the EndNote and the information were recorded into the categorized spreadsheet. Study quality and risk of bias were assessed in March 2019. Then the data were analyzed and all information synthesized in June 2019. Five studies from 6451 studies met the inclusion criteria. Four out of the five studies found a beneficial effect on the music intervention group compared to the control group. These outcomes included language development, which correlated with changes in functional brain plasticity during an executive function task. Also, one study found beneficial to identified emotions. This study showed the advantage of music intervention on cognitive neuroscience skills. As the study focused only on healthy children, it lacks more information and could not provide available evidence. Further study is needed to strengthen the evidence base in this area.
วัตถุประสงค์: เพื่อตรวจสอบผลกระทบของ music interventions ต่อกระบวนการคิดเชิงปัญญาสำฃ หรับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในเด็กปฐมวัยด้วยการทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบ วิธีการวิจัย: ทำการสืบค้นงานวิจัยอย่างเป็นระบบในฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน 2561 การศึกษาที่เลือกเป็นงานวิจัยที่ได้รับการวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2561 โดยมี Impact Factor มีจำนวนการอ้างอิง และมี peer-reviewed ซึ่งการศึกษามีการประเมินผลกระทบของ Music intervention กับเด็กปกติอย่างน้อยหนึ่งคน อายุระหว่าง 3 ถึง 6 ปี การออกแบบการศึกษามีการวัดตัวแปรตามอย่างน้อยหนึ่งตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมกระบวนการคิดเชิงปัญญา แต่ละการศึกษาถูกแยกเป็นไฟล์เอกสาร แล้วนำเข้าโปรแกรม EndNote เพื่อคัดการศึกษาที่ซ้ำ ออก โดยข้อมูลจะถูกดึงออกมาบันทึกไว้ใน Microsoft Excel เพื่อจัดหมวดหมู่ข้อมูล และมีผู้เชี่ยวชาญทั้ง 2 ท่าน เข้ามาช่วยคัดกรองอีกครั้งหนึ่ง ในเดือนมีนาคม 2562 จากกนั้นผู้วิจัยจึงทำการสังเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย และสรุปผล ในเดือนมิถุนายน 2562 ผลการวิจัย: 5 จาก 6,451 การศึกษาตรงตามเกณฑ์การคัดเลือก 4 ใน 5 การศึกษาพบประโยชน์ใน กลุ่มที่ใช้ Music intervention เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ผลที่ได้ครอบคลุมการพัฒนาทางด้านภาษา ซึ่งมีความสัมพันธ์กับกระบวนการคิดเชิงปัญญา และอีกหนึ่งการศึกษาพบว่า มีประโยชน์ต่อการระบุหรือการรับรู้อารมณ์ สรุปผล: การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงข้อได้เปรียบของ Music intervention ต่อกระบวนการคิดเชิงปัญญาแต่การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นไปที่เด็กที่มีสุขภาพดี ซึ่งทำให้พบข้อมูลที่จำกัด สำหรับการศึกษาในอนาคตนั้น จำเป็นต้องปรับปรุงเกณฑ์วัตถุประสงค์ หรือการคัดเลือก เพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดนี้
วัตถุประสงค์: เพื่อตรวจสอบผลกระทบของ music interventions ต่อกระบวนการคิดเชิงปัญญาสำฃ หรับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในเด็กปฐมวัยด้วยการทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบ วิธีการวิจัย: ทำการสืบค้นงานวิจัยอย่างเป็นระบบในฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน 2561 การศึกษาที่เลือกเป็นงานวิจัยที่ได้รับการวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2561 โดยมี Impact Factor มีจำนวนการอ้างอิง และมี peer-reviewed ซึ่งการศึกษามีการประเมินผลกระทบของ Music intervention กับเด็กปกติอย่างน้อยหนึ่งคน อายุระหว่าง 3 ถึง 6 ปี การออกแบบการศึกษามีการวัดตัวแปรตามอย่างน้อยหนึ่งตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมกระบวนการคิดเชิงปัญญา แต่ละการศึกษาถูกแยกเป็นไฟล์เอกสาร แล้วนำเข้าโปรแกรม EndNote เพื่อคัดการศึกษาที่ซ้ำ ออก โดยข้อมูลจะถูกดึงออกมาบันทึกไว้ใน Microsoft Excel เพื่อจัดหมวดหมู่ข้อมูล และมีผู้เชี่ยวชาญทั้ง 2 ท่าน เข้ามาช่วยคัดกรองอีกครั้งหนึ่ง ในเดือนมีนาคม 2562 จากกนั้นผู้วิจัยจึงทำการสังเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย และสรุปผล ในเดือนมิถุนายน 2562 ผลการวิจัย: 5 จาก 6,451 การศึกษาตรงตามเกณฑ์การคัดเลือก 4 ใน 5 การศึกษาพบประโยชน์ใน กลุ่มที่ใช้ Music intervention เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ผลที่ได้ครอบคลุมการพัฒนาทางด้านภาษา ซึ่งมีความสัมพันธ์กับกระบวนการคิดเชิงปัญญา และอีกหนึ่งการศึกษาพบว่า มีประโยชน์ต่อการระบุหรือการรับรู้อารมณ์ สรุปผล: การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงข้อได้เปรียบของ Music intervention ต่อกระบวนการคิดเชิงปัญญาแต่การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นไปที่เด็กที่มีสุขภาพดี ซึ่งทำให้พบข้อมูลที่จำกัด สำหรับการศึกษาในอนาคตนั้น จำเป็นต้องปรับปรุงเกณฑ์วัตถุประสงค์ หรือการคัดเลือก เพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดนี้
Description
Human Development (Mahidol University 2020)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
National Institute for Child and Family Development
Degree Discipline
Human Development
Degree Grantor(s)
Mahidol University