Characterization of cassava root proteins : albumin and globulin
Issued Date
1999
Copyright Date
1999
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xv, 95 leaves : ill. (some col.)
ISBN
9746629069
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Biochemistry))--Mahidol University, 1999
Suggested Citation
Jariya Sukhapan Characterization of cassava root proteins : albumin and globulin. Thesis (M.Sc. (Biochemistry))--Mahidol University, 1999. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/103618
Title
Characterization of cassava root proteins : albumin and globulin
Alternative Title(s)
การศึกษาสมบัติของโปรตีนอัลบูมินและกลอบูลินจากหัวมันสำปะหลัง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Globulin, the major protein band from cortex of cassava root, was purified by using ammonium sulfate fractionation, gel filtration, and ion exchange chromatography. The subunit MW determined by SDS-PAGE of cassava globulin was 67 kDa, and its native MW estimated by gel filtration was larger than 1,500 kDa. It was glycoprotein containing 31.2% (w/w) neutral sugar. Under non-denaturing conditions, the globulin appeared as a ladder pattern consisting of more than 6 bands in PAGE. Globulin had pI values of 4.6. Electrophoresis of the globulin in triton-acidurea gel showed a single band, suggesting that the globulin consisted of a single peptide chain. Its amino acid composition revealed that the sum of acidic amino acids (Asx and Glx) was about two times greater than the sum of basic amino acids. (Lys, Arg and His). Moreover, hydrophobic amino acids (Ala, Val, Leu, Ile, Pro, Phe and Tyr) made up close to 50% at the total amino acids of the globulin. Among the activity tests performed, the globulin had only linamarase activity with Km values for linamarin, p-nitrophenyl-β-D-glucopyranoside and p-nitrophenylp-β-D-fucopyranoside similar to those of the cortex linamarase. Albumin, the major protein band from cassava root parenchyma, was purified by using ammonium sulfate fractionation, hydrophobic interaction chromatography, and gel filtration chromatography. By hydrophobic interaction chromatography, the albumin was separated into albumin I and albumin II. The subunit MW determined by SDS-PAGE of both albumins was 22 kDa. The native MW of albumin I was 232 kDa and that of albumin II was 250 kDa, as estimated by gel filtration. Both albumin I and II were glycoproteins containing 23% and 6.9% (w/w) neutral sugar, respectively. Under non-denaturing electrophoresis, albumin I and II each showed a single band. Each had pI value of 5.4. Analysis of the albumins by electrophoresis in Triton-acid-urea gel showed that albumin I and albumin II each gave two major bands and two minor bands. This result indicated that each albumin consisted of more than one type of subunits of different hydrophobicity. Both albumins showed similar amino acid compositions. Also, in each case, the sum of basic amino acids was about two-thirds of that of acidic amino acids and the sum of hydrophobic amino acids was approximately 40% of the total amino acids. Each albumin showed no activity under the assays for lectin, linamarase, chitinase, proteinase, or trypsin inhibitor.
กลอบูลิน ซึ่งเป็นโปรตีนหลักจากส่วนเปลือกของหัวมันสำปะหลัง นำมาผ่านกระบวนการ ทำให้บริสุทธิ์ โดยการตกตะกอนเกลือแอมโมเนียมซัลเฟต ตามด้วยเจลฟิลเตรชั่น (gel filtration) และโครมาโตกราฟีแบบแลกไอออน ผลการวิเคราะห์โดย SDS-PAGE พบว่า โปรตีนที่ได้มีน้ำหนัก โมเลกุลประมาณ 67 kDa และโดยเจลฟิลเตรชั่น พบว่า ขนาดโมเลกุลในภาวะที่ไม่เสียสภาพของ กลอบูลินนั้นใหญ่กว่า 1,500 kDa กลอบูลินเป็นไกลโคโปรตีนที่ประกอบด้วยน้ำตาลที่เป็นกลาง 3.12% โดยน้ำหนัก กลอบูลินให้รูปแบบของแถบโปรตีนเป็นลักษณะขั้นบันไดบน PAGE ในสภาวะไม่ เสียสภาพ และจากการวิเคราะห์รูปแบบของโปรตีนบน Triton-acid-urea-PAGE พบว่าได้แถบ ของโปรตีนเพียง 1 แถบ จากผลการทดลองให้ข้อเสนอแนะว่า กลอบูลินประกอบด้วยโพลีเปปไทด์ เพียง 1 ชนิด มีค่า pI เท่ากับ 4.6 ในการวิเคราะห์องค์ประกอบของกรดอะมิโนพบว่า กลอบูลิน มีปริมาณกรดอะมิโนที่มีแขนงข้างเป็นกรดสูงประมาณ 2 เท่าของที่มีแขนงข้างเป็นเบส และมีกรด อะมิโนชนิด hydrophobic เกือบ 50% ของปริมาณกรดอะมิโนทั้งหมด กลอบูลินมีแอคทิวิตี้ของลินามาเรส โดยมีค่า Km ของลินามาริน, p-nitrophenyl-β- D-glucopyranoside, p-nitrophenyl-β-D-fucopyranoside ใกล้เคียงกันกับเอนไซม์ ลินามาเรสที่สกัดจากส่วนเปลือกของหัวมันสำปะหลัง อัลบูมินซึ่งเป็นโปรตีนหลักจากส่วนเนื้อของหัวมันสำปะหลัง นำมาผ่านกระบวนการทำให้ บริสุทธิ์โดยการตกตะกอนด้วยเกลือแอมโมเนียมซัลเฟต ตามด้วยโครมาโตกราฟีแบบ hydrophobic interaction และเจลฟิลเตรชั่น (gel filtration) อัลบูมินแยกออกเป็นโปรตีน 2 ชนิด คือ อัลบูมิน I และอัลบูมิน II ผลการวิเคราะห์โดย SDS-PAGE พบว่าอัลบูมินทั้งสองมีแถบของโปรตีน ที่เด่นชัดในตำแหน่งน้ำหนักโมเลกุลประมาณ 22 kDa และโดยเจลฟิลเตรชั่น พบว่า อัลบูมิน I มี ขนาดของโมเลกุลในภาวะไม่เสียสภาพประมาณ 232 kDa ส่วนอัลบูมิน II มีขนาดประมาณ 250 kDa อัลบูมิน I และอัลบูมิน II เป็นไกลโคโปรตีน ซึ่งประกอบด้วยน้ำตาลที่เป็นกลาง 23% และ 6.9% ตามลำดับ อัลบูมินทั้งสองให้รูปแบบของโปรตีนเพียงแถบเดียวบน PAGE ในสภาวะไม่เสียสภาพ และ จากการวิเคราะห์รูปแบบของโปรตีนบน Triton-acid-urea-PAGE พบว่า อัลบูมินทั้งสองให้รูปแบบ ของโปรตีนที่เหมือนกัน คือ ได้โปรตีนแถบเข้ม 2 แถบ และโปรตีนแถบบาง 2 แถบ จากผลการทดลอง อาจสรุปได้ว่า อัลบูมินประกอบด้วยโพลีเปปไทด์มากกว่า 1 ชนิด ที่มี hydrophobicity ต่างกัน ทั้งอัลบูมิน I และ II มีค่า pI เท่ากับ 5.4 เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของกรดอะมิโนพบว่า อัลบูมินทั้งสองชนิดประกอบด้วยกรดอะมิโนทั้งชนิดและสัดส่วนที่คล้ายกัน อัลบูมินมีปริมาณกรด อะมิโนที่มีแขนงข้างเป็นเบสประมาณ 2 ใน 3 ของกรดอะมิโนที่มีแขนงข้างเป็นกรด และมีกรด อะมิโนชนิด hydrophobic เกือบ 40% ของปริมาณกรดอะมิโนทั้งหมด อัลบูมินทั้งสองชนิดไม่มีแอคทิวิตี้ของเลคติน ลินามาเรส ไคตินเนส โปรติเนส และตัวยับยั้ง ทริปซิน
กลอบูลิน ซึ่งเป็นโปรตีนหลักจากส่วนเปลือกของหัวมันสำปะหลัง นำมาผ่านกระบวนการ ทำให้บริสุทธิ์ โดยการตกตะกอนเกลือแอมโมเนียมซัลเฟต ตามด้วยเจลฟิลเตรชั่น (gel filtration) และโครมาโตกราฟีแบบแลกไอออน ผลการวิเคราะห์โดย SDS-PAGE พบว่า โปรตีนที่ได้มีน้ำหนัก โมเลกุลประมาณ 67 kDa และโดยเจลฟิลเตรชั่น พบว่า ขนาดโมเลกุลในภาวะที่ไม่เสียสภาพของ กลอบูลินนั้นใหญ่กว่า 1,500 kDa กลอบูลินเป็นไกลโคโปรตีนที่ประกอบด้วยน้ำตาลที่เป็นกลาง 3.12% โดยน้ำหนัก กลอบูลินให้รูปแบบของแถบโปรตีนเป็นลักษณะขั้นบันไดบน PAGE ในสภาวะไม่ เสียสภาพ และจากการวิเคราะห์รูปแบบของโปรตีนบน Triton-acid-urea-PAGE พบว่าได้แถบ ของโปรตีนเพียง 1 แถบ จากผลการทดลองให้ข้อเสนอแนะว่า กลอบูลินประกอบด้วยโพลีเปปไทด์ เพียง 1 ชนิด มีค่า pI เท่ากับ 4.6 ในการวิเคราะห์องค์ประกอบของกรดอะมิโนพบว่า กลอบูลิน มีปริมาณกรดอะมิโนที่มีแขนงข้างเป็นกรดสูงประมาณ 2 เท่าของที่มีแขนงข้างเป็นเบส และมีกรด อะมิโนชนิด hydrophobic เกือบ 50% ของปริมาณกรดอะมิโนทั้งหมด กลอบูลินมีแอคทิวิตี้ของลินามาเรส โดยมีค่า Km ของลินามาริน, p-nitrophenyl-β- D-glucopyranoside, p-nitrophenyl-β-D-fucopyranoside ใกล้เคียงกันกับเอนไซม์ ลินามาเรสที่สกัดจากส่วนเปลือกของหัวมันสำปะหลัง อัลบูมินซึ่งเป็นโปรตีนหลักจากส่วนเนื้อของหัวมันสำปะหลัง นำมาผ่านกระบวนการทำให้ บริสุทธิ์โดยการตกตะกอนด้วยเกลือแอมโมเนียมซัลเฟต ตามด้วยโครมาโตกราฟีแบบ hydrophobic interaction และเจลฟิลเตรชั่น (gel filtration) อัลบูมินแยกออกเป็นโปรตีน 2 ชนิด คือ อัลบูมิน I และอัลบูมิน II ผลการวิเคราะห์โดย SDS-PAGE พบว่าอัลบูมินทั้งสองมีแถบของโปรตีน ที่เด่นชัดในตำแหน่งน้ำหนักโมเลกุลประมาณ 22 kDa และโดยเจลฟิลเตรชั่น พบว่า อัลบูมิน I มี ขนาดของโมเลกุลในภาวะไม่เสียสภาพประมาณ 232 kDa ส่วนอัลบูมิน II มีขนาดประมาณ 250 kDa อัลบูมิน I และอัลบูมิน II เป็นไกลโคโปรตีน ซึ่งประกอบด้วยน้ำตาลที่เป็นกลาง 23% และ 6.9% ตามลำดับ อัลบูมินทั้งสองให้รูปแบบของโปรตีนเพียงแถบเดียวบน PAGE ในสภาวะไม่เสียสภาพ และ จากการวิเคราะห์รูปแบบของโปรตีนบน Triton-acid-urea-PAGE พบว่า อัลบูมินทั้งสองให้รูปแบบ ของโปรตีนที่เหมือนกัน คือ ได้โปรตีนแถบเข้ม 2 แถบ และโปรตีนแถบบาง 2 แถบ จากผลการทดลอง อาจสรุปได้ว่า อัลบูมินประกอบด้วยโพลีเปปไทด์มากกว่า 1 ชนิด ที่มี hydrophobicity ต่างกัน ทั้งอัลบูมิน I และ II มีค่า pI เท่ากับ 5.4 เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของกรดอะมิโนพบว่า อัลบูมินทั้งสองชนิดประกอบด้วยกรดอะมิโนทั้งชนิดและสัดส่วนที่คล้ายกัน อัลบูมินมีปริมาณกรด อะมิโนที่มีแขนงข้างเป็นเบสประมาณ 2 ใน 3 ของกรดอะมิโนที่มีแขนงข้างเป็นกรด และมีกรด อะมิโนชนิด hydrophobic เกือบ 40% ของปริมาณกรดอะมิโนทั้งหมด อัลบูมินทั้งสองชนิดไม่มีแอคทิวิตี้ของเลคติน ลินามาเรส ไคตินเนส โปรติเนส และตัวยับยั้ง ทริปซิน
Description
Biochemistry (Mahidol University 1999)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Biochemistry
Degree Grantor(s)
Mahidol University