Incidence and risk factors of extended spectrum beta-lactamase-producing E.coli among inpatients with nosocomial urinary tract infection at Taksin Hospital Bangkok Metropolitan Administration
dc.contributor.advisor | Kulaya Narksawat | |
dc.contributor.advisor | Dusit Sujirarat | |
dc.contributor.advisor | Supunnee Jirajariyavej | |
dc.contributor.author | Somying Tipmongkol | |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T04:06:55Z | |
dc.date.available | 2024-01-25T04:06:55Z | |
dc.date.copyright | 2015 | |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 2015 | |
dc.description | Infectious Diseases and Epidemiology (Mahidol University 2015) | |
dc.description.abstract | A retrospective cohort study was conducted to assess incidence density and factors associated with nosocomial urinary tract infection by ESBL-producing E.coli among patients admitted at Taksin hospital, Bangkok Metropolitan Administration, from 1st January to 31th December 2011. Data collection was performed by retrieving from medical records. Among total number of 937 inpatients with urinary tract infection, the gender ratio (male: female) was 1:1.2, with average age 56.9+23.5 years. Sixty five point three percent of them were from medical ward, 11.8 percent from surgical ward, 11.5 percent from intensive care unit and the rest 11.3 percent from ob-gyn ward. The total person-week of study population was 1,644 weeks, overall incidence density of nosocomial urinary tract infection by ESBLproducing E.coli was 5.1 per 100 per week. Results obtained from Cox's regression analysis revealed that significant risk factors were being female (HR=1.67 95%CI; 1.01-2.76), having chronic diseases (HR=3.02 95%CI; 1.91-4.78), using prior antibiotic during last year (HR= 3.02 95%CI; 1.58-5.77), staying in other wards not ICU (HR=8.85 95%CI; 1.21-64.47), using urine catheter (HR=1.63 95%CI; 1.01- 2.62), having invasive urine catheter (HR=1.76 95%CI; 1.13-2.70) and using antibiotic during present admission (HR=9.82 95%CI; 3.02-31.97).This study suggests that the appropriate use of the antibiotics for the treatment of infection are important for better clinical care. The history of antibiotics used are important for better treatment. The practice in accordance with the standard control is highly recommended for the prevention and the protection of multidrug resistance in the hospital. Antibiotic drugs administration is strongly recommended for its proper and effective utilization regimen based on antibiogram and sensitivity report to avoid a development of undesirable drug resistance. | |
dc.description.abstract | การศึกษา retrospective cohort นี้เพื่อศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะในโรงพยาบาลจากเชื้อ E.coli ที่สร้าง ESBL โดยรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนของ ผู้ป่วยใน โรงพยาบาลตากสิน สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำนวน 937 ราย โดยมีอัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิงเท่ากับ 1:1.2 อายุเฉลี่ย 56.9 ± 23.5 ปี ร้อยละ 65.3 นอนพักรักษาตัว ในแผนกอายุรกรรม ร้อยละ 11.8 นอนพักรักษาตัวในแผนกศัลยกรรม ร้อยละ11.5 นอนพัก รักษาตัวในไอซียูและ ร้อยละ11.3 พักรักษาตัวในแผนกสูติ-นรีเวชกรรมอัตราอุบัติการณ์รวมของการติดเชื้อเท่ากับ 5.1 ต่อ 100 คนต่อสัปดาห์ ผลการวิเคราะห์ด้วย Cox's regression พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะในโรงพยาบาลจากเชื้อ E.coli ที่สร้าง ESBLได้แก่ การเป็นเพศหญิง (HR= 1.67 95%CI; 1.01-2.76) การมีโรคเรื้อรังเป็นโรคร่วม (HR= 3.02 95%CI; 1.91 -4.78) ผู้ที่เคยใช้ยาปฏิชีวนะภายใน 1 ปี (HR= 3.02 95%CI; 1.58-5.77) พักรักษาตัว ในหอผู้ป่วยอื่นที่ไม่ใช่ ICU (HR= 8.85 95%CI; 1.21-64.47) ผู้ที่เคยใส่สายสวนปัสสาวะภายใน 30 วันก่อนการนอนโรงพยาบาลครั้งนี้ (HR= 1.63 95%CI; 1.01-2.62) ผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยการใส่สายสวนปัสสาวะ (HR= 1.76 95%CI; 1.13-2.70) และการ ใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษาครั้งนี้ (HR= 9.82 95%CI; 3.02-31.97) จากผลการวิจัยนี้เสนอแนะว่าควรให้ความสำคัญ กับการใช้ยาปฏิชีวนะ อย่างเหมาะสมในการรักษาการ ติดเชื้อในโรงพยาบาล ร่วมกับการใช้ประโยชน์ จากการ รายงานผลความไวของยาในใบรายงานผลตรวจเพาะเชื้อและ antibiogram เพื่อเป็นการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพรวมทั้งการซักถามประวัติการได้รับยาปฏิชีวนะ นอกจากนั้นสิ่งที่ต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการติดเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาลคือ การปฏิบัติตามมาตรฐานการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อของโรงพยาบาล | |
dc.format.extent | x, 85 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Infectious Diseases and Epidemiology))--Mahidol University, 2015 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94049 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Escherichia coli | |
dc.subject | Nosocomial infections | |
dc.subject | Urinary tract infections | |
dc.title | Incidence and risk factors of extended spectrum beta-lactamase-producing E.coli among inpatients with nosocomial urinary tract infection at Taksin Hospital Bangkok Metropolitan Administration | |
dc.title.alternative | อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อ E.coli ที่สร้าง ESBL ในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ โรงพยาบาลตากสิน สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2557/cd498/5436095.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Public health | |
thesis.degree.discipline | Infectious Diseases and Epidemiology | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |