Factors associated with access to health service and health-related quality of life in knee osteoarthritis patients
Issued Date
2017
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 206 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (D.N.S. (Nursing))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Siriwan Choojaturo Factors associated with access to health service and health-related quality of life in knee osteoarthritis patients. Thesis (D.N.S. (Nursing))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92236
Title
Factors associated with access to health service and health-related quality of life in knee osteoarthritis patients
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเข้าถึงบริการสุขภาพและคุณภาพชีวิตผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม
Author(s)
Abstract
In recent years, worldwide health service system was created to address the burden of knee osteoarthritis (OA) to improve patient's health-related quality of life and to ensure equitable access to health service needed. However, the core reality in current practice is that nearly half of knee OA patients who presented in the health system do not have access to health services. These relatively raise important questions about the nature of health services system and what (if any) factors can better improve the quality of life in the real setting. A cross-sectional descriptive design was conducted to investigate the association of health service system-related and patient-related factors with access to health service and quality of life. The subjects were 618 cases of knee OA who had received osteoarthritis management at 16 hospitals in Thailand. Structural Equation Modeling analysis showed the difference between the effectiveness factors associated with access to health service and the effectiveness factors associated with health-related quality of life. This study indicated that quality of life of knee OA patients was unfavorable (fair-to-poor; approximately 33.8). Providing OA evidence-based recommendations for practice were varied and limited. Approximately 38.2% of knee OA patients find it very difficult to get medical care when needed, and only 54.2% received adequate and appropriate interventions before referral for total knee replacement. Non-steroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDs) and/or Cyclooxygenase II (COX II) inhibitors were common prescriptions to all knee OA patients, but only 54.7% were dispensed as an adjuvant analgesic drug with appropriate caution. More than 85% of orthopedic health services had implemented chronic disease management (CDM) policy into practice. However, the implementation was basic, with an average score of 5.9. Structural Equation Modelling analysis showed that both health system-related factors (β = .10, p = .01) and patient-related factors (β = .29, p = .00 for self-management and β = -.49, p = .00 for disease-related factors) were directly and indirectly associated with HRQOL and correlated with each other. Whereas, the important factor related to quality of life and access to health service was patient's self-management (β = .29 for health-related quality of life and β =.20 for access to health service). This finding is robust across symptom severity and remained significant after adjustment for other factors associated with quality of life. However, the association between access to health service and health-related quality of life was not statistically significant (β = -.00, p = 1.0). This study has elicited powerful information about access to health service and quality of life from the individual and health system perspectives. Furthermore, there is a need to develop orthopedic health service which gives immediate response to patients' need both in quantity and quality of care.
ในช่วงมีกี่ปีมานี้ ทุกประเทศทั่วโลกได้รังสรรค์ระบบบริการสุขภาพเพื่อจัดการกับภาระโรคข้อเข่าเสื่อม เพิ่มคุณภาพชีวิตและประกันการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นอย่างเท่าเทียม อย่างไรก็ตาม ความจริงเชิงปฏิบัติ ที่สำคัญก็คือเกือบครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมที่เข้าสู่ระบบบริการสุขภาพไม่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ เป็นที่มาของคำถามเกี่ยวกับธรรมชาติของระบบบริการสุขภาพและปัจจัยสำคัญ (หากมี) ที่สามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นในบริบทจริง การศึกษาเชิงพรรณนาภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยเชิงระบบ บริการสุขภาพและปัจจัยเชิงผู้ป่วยต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพและคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมที่เข้ารับการ รักษาในแผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 618 ราย ในโรงพยาบาล 16 แห่ง ประเทศไทย การวิเคราะห์โมเดลสมการ โครงสร้างแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพและปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิต การศึกษาครั้งนี้บ่งชี้ว่าคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมนั้นค่อนข้างไม่ดี (ต่ำถึงปานกลาง ค่าคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตเท่ากับ 33.8) การให้บริการสุขภาพตามหลักฐานเชิงประจักษ์มีความลักหลั่นและจำกัด พบว่าประมาณ 38.2% ของผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมีความลำบากในเข้าถึงบริการสุขภาพที่ต้องการเมื่อจำเป็น และมีเพียง 54.2% ที่ได้รับบริการสุขภาพอย่างเพียงพอและเหมาะสมก่อนส่งต่อการรักษาเพื่อทำผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม มีการสั่งให้ยาต้านการอักเสบชนิดไม่ใช่ยาสเตียรอยด์ (Non-steroidal anti-inflammatory drugs: NSAIDs) และ/หรือยาในกลุ่ม Cyclooxygenase II (COX II) inhibitors ให้แก่ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมทุกราย แต่มีเพียง 54.7 % ที่จ่ายเป็นยาเสริมแก้ปวดด้วยความระมัดระวังอย่างเหมะสม มากกว่าร้อยละ 87.5% ของบริการสุขภาพออร์โธปิ ดิกส์ ได้นำนโยบายการจัดการโรคเรื้อรังลงสู่การปฏิบัติ อย่างไรก็ตามคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับพื้นฐานด้วยคะแนนเฉลี่ย 5.9 การวิเคราะห์สมการโครงสร้างพบว่าปัจจัยทั้งเชิงระบบบริการสุขภาพ (β = .10, p = .00) และปัจจัยเชิงผู้ป่วย (β = .29, p = .00) สำหรับการจัดการตนเอง และ β = -.49, p = .00 สำหรับ ปัจจัยเกี่ยวกับโรค) มีความสัมพันธ์โดยทางตรงและทางอ้อมกับคุณภาพชีวิตและปัจจัยเหล่านี้มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ในขณะที่ปัจจัยสำคัญต่อทั้งคุณภาพชีวิตและการเข้าถึงบริการสุขภาพคือการจัดการตนเอง (β = .29, p = .00 สำหรับคุณภาพชีวิต และ β = .20, p = .00 สำหรับการเข้าถึงบริการสุขภาพ) ซึ่งความสัมพันธ์นี้มีความแกร่งเชิงสถิติเหนือความรุนแรงของโรคและยังคงมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อปรับค่าความผันแปรของปัจจัยอื่นที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต อย่างไรก็ตามไม่มีนัยสำคัญทางสถิติของความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าถึงบริการสุขภาพและคุณภาพชีวิต (β = -.00, p = 1.0) การศึกษาครั้งนี้นอกจากจะให้ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับการเข้าถึงบริการสุขภาพและคุณภาพชีวิตในมุมมองของบุคคลและระบบบริการสุขภาพแล้ว ยังมีความจำเป็นในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพออร์โธปิดิกส์ที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ป่วยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพการบริการ
ในช่วงมีกี่ปีมานี้ ทุกประเทศทั่วโลกได้รังสรรค์ระบบบริการสุขภาพเพื่อจัดการกับภาระโรคข้อเข่าเสื่อม เพิ่มคุณภาพชีวิตและประกันการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นอย่างเท่าเทียม อย่างไรก็ตาม ความจริงเชิงปฏิบัติ ที่สำคัญก็คือเกือบครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมที่เข้าสู่ระบบบริการสุขภาพไม่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ เป็นที่มาของคำถามเกี่ยวกับธรรมชาติของระบบบริการสุขภาพและปัจจัยสำคัญ (หากมี) ที่สามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นในบริบทจริง การศึกษาเชิงพรรณนาภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยเชิงระบบ บริการสุขภาพและปัจจัยเชิงผู้ป่วยต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพและคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมที่เข้ารับการ รักษาในแผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 618 ราย ในโรงพยาบาล 16 แห่ง ประเทศไทย การวิเคราะห์โมเดลสมการ โครงสร้างแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพและปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิต การศึกษาครั้งนี้บ่งชี้ว่าคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมนั้นค่อนข้างไม่ดี (ต่ำถึงปานกลาง ค่าคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตเท่ากับ 33.8) การให้บริการสุขภาพตามหลักฐานเชิงประจักษ์มีความลักหลั่นและจำกัด พบว่าประมาณ 38.2% ของผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมีความลำบากในเข้าถึงบริการสุขภาพที่ต้องการเมื่อจำเป็น และมีเพียง 54.2% ที่ได้รับบริการสุขภาพอย่างเพียงพอและเหมาะสมก่อนส่งต่อการรักษาเพื่อทำผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม มีการสั่งให้ยาต้านการอักเสบชนิดไม่ใช่ยาสเตียรอยด์ (Non-steroidal anti-inflammatory drugs: NSAIDs) และ/หรือยาในกลุ่ม Cyclooxygenase II (COX II) inhibitors ให้แก่ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมทุกราย แต่มีเพียง 54.7 % ที่จ่ายเป็นยาเสริมแก้ปวดด้วยความระมัดระวังอย่างเหมะสม มากกว่าร้อยละ 87.5% ของบริการสุขภาพออร์โธปิ ดิกส์ ได้นำนโยบายการจัดการโรคเรื้อรังลงสู่การปฏิบัติ อย่างไรก็ตามคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับพื้นฐานด้วยคะแนนเฉลี่ย 5.9 การวิเคราะห์สมการโครงสร้างพบว่าปัจจัยทั้งเชิงระบบบริการสุขภาพ (β = .10, p = .00) และปัจจัยเชิงผู้ป่วย (β = .29, p = .00) สำหรับการจัดการตนเอง และ β = -.49, p = .00 สำหรับ ปัจจัยเกี่ยวกับโรค) มีความสัมพันธ์โดยทางตรงและทางอ้อมกับคุณภาพชีวิตและปัจจัยเหล่านี้มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ในขณะที่ปัจจัยสำคัญต่อทั้งคุณภาพชีวิตและการเข้าถึงบริการสุขภาพคือการจัดการตนเอง (β = .29, p = .00 สำหรับคุณภาพชีวิต และ β = .20, p = .00 สำหรับการเข้าถึงบริการสุขภาพ) ซึ่งความสัมพันธ์นี้มีความแกร่งเชิงสถิติเหนือความรุนแรงของโรคและยังคงมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อปรับค่าความผันแปรของปัจจัยอื่นที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต อย่างไรก็ตามไม่มีนัยสำคัญทางสถิติของความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าถึงบริการสุขภาพและคุณภาพชีวิต (β = -.00, p = 1.0) การศึกษาครั้งนี้นอกจากจะให้ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับการเข้าถึงบริการสุขภาพและคุณภาพชีวิตในมุมมองของบุคคลและระบบบริการสุขภาพแล้ว ยังมีความจำเป็นในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพออร์โธปิดิกส์ที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ป่วยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพการบริการ
Description
Nursing (Mahidol University 2017)
Degree Name
Doctor of Nursing Science
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Nursing
Degree Discipline
Nursing
Degree Grantor(s)
Mahidol University