ศึกษาสภาพและแนวทางพัฒนาการจัดกิจกรรมดนตรีสากล กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนหลักสามดำเนิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร
Issued Date
2560
Copyright Date
2560
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 122 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560
Suggested Citation
เกริกไกร เต็มมูล ศึกษาสภาพและแนวทางพัฒนาการจัดกิจกรรมดนตรีสากล กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนหลักสามดำเนิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92691
Title
ศึกษาสภาพและแนวทางพัฒนาการจัดกิจกรรมดนตรีสากล กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนหลักสามดำเนิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร
Alternative Title(s)
A study of circumstances and guidelines for music activities development of the Samutsakhon Primary Education Service Area Office School network Lak Sam Damnoen
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
งานวิจัยในครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและแนวทางพัฒนาการจัดกิจกรรมดนตรีสากล โดยศึกษาจากปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดกิจกรรมดนตรีสากล แบ่งออกเป็น 2 ปัจจัย คือ 1. ปัจจัยภายในได้แก่ ด้านงบประมาณ และด้านบุคลากร 2. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ความร่วมมือจากชุมชน และผู้ปกครอง โดยศึกษาจากครูผู้สอนที่รับผิดชอบในการจัดกิจกรรมดนตรีสากล เพื่อให้ทราบถึงแนวทางในการพัฒนาการจัดกิจกรรมดนตรีสากล ผลการวิจัย พบดังนี้ ปัจจัยภายใน พบว่า โรงเรียนส่วนใหญ่ยังขาดแคลนในเรื่องงบประมาณและบุคลากรที่มีความชำนาญด้านดนตรีสากล เนื่องจากข้อจำกัดในด้านต่างๆ และศักกยภาพที่แตกต่างกันของโรงเรียน รวมถึงข้อจำกัดต่างๆ ที่หน่วยงานต้นสังกัดไม่สามารถสนับสนุนโรงเรียนได้ตามความต้องการ ปัจจัยภายนอก พบว่า ชุมชนไม่มีส่วนสนับสนุนหรือมีส่วนในการช่วยระดมทรัพยากรด้านงบประมาณ และผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่สนับสนุนให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมดนตรีสากลเนื่องจากไม่เห็นความสำคัญและประโยชน์ของกิจกรรมดนตรีสากล ด้วยความแตกต่างด้านปัจจัยเหล่านี้จึงทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมดนตรีสากลให้ประสบผลสำเร็จตามที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ได้
This research was a qualitative research which aimed to study the circumstances and guidelines for music activities development. The factors influencing the success of music activities were divided into 2 factors: 1. Internal factors: budget and personnel 2. External factors: cooperation from community and parents. It was studied from the teachers who were responsible for music activities to learn how to develop music activities. The results of this research showed that most schools lacked budget and personnel with music expertise due to the limitations and different potential of the school including other limitations from the original affiliation which did not support the schools as per their need, and the external factors showed that the community did not contribute or support in mobilizing budgetary resources, and most parents did not encourage their students to attend music activities because they did not realize in the importance and benefits of music activities. With the differences in these factors, it was impossible to arrange music activities to achieve their objectives.
This research was a qualitative research which aimed to study the circumstances and guidelines for music activities development. The factors influencing the success of music activities were divided into 2 factors: 1. Internal factors: budget and personnel 2. External factors: cooperation from community and parents. It was studied from the teachers who were responsible for music activities to learn how to develop music activities. The results of this research showed that most schools lacked budget and personnel with music expertise due to the limitations and different potential of the school including other limitations from the original affiliation which did not support the schools as per their need, and the external factors showed that the community did not contribute or support in mobilizing budgetary resources, and most parents did not encourage their students to attend music activities because they did not realize in the importance and benefits of music activities. With the differences in these factors, it was impossible to arrange music activities to achieve their objectives.
Description
ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2560)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Degree Discipline
ดนตรี
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล