Factors influencing prehospital delay time among patients with peripheral arterial occlusive disease

dc.contributor.advisorOrapan Thosingha
dc.contributor.advisorRiegel, Babara
dc.contributor.advisorChanean Ruangsetakit
dc.contributor.advisorChukiat Viwatwongkasem
dc.contributor.authorTidarat Vasaroangrong
dc.date.accessioned2023-09-08T03:10:48Z
dc.date.available2023-09-08T03:10:48Z
dc.date.copyright2014
dc.date.created2014
dc.date.issued2023
dc.description.abstractOnly one third of patients with peripheral arterial occlusive disease (PAOD) seek medical care after perceiving the symptoms of PAOD, and most PAOD patients come to visit the physicians when they develop ulceration and gangrene. As a result, there are few choices of treatment for them. Finally, PAOD patients end with lower extremity amputation and die within 3 years. Therefore, a better understanding about factors influencing prehospital delay time is needed among patients with PAOD. The purpose of this study was to 1) describe the relationship between internal stimuli in terms of sociodemographic characteristics and clinical characteristics; environmental stimuli in terms of social support; knowledge about PAOD; depression and fear; and treatment-seeking behaviors with prehospital delay time among patients with PAOD, 2) predict prehospital delay time among patients with PAOD from the factors aforementioned. This study is based on the Self-regulation theory which is proposed by Leventhal and Cameron. Data collection was conducted in 3 university hospitals residing in Bangkok, Thailand. A sample of 212 patients with PAOD, who newly diagnosed or diagnosed during the 4 months proceeding to the study, were recruited into the study. The questionnaires and interviewing form were employed to collect data. The SPSS program version 17.0 was used for data analysis. The results revealed that the average duration of prehospital delay time was 95.75 days (SD = 162.63 days), and the median was 30 days. The findings indicated that gender: male, income less than 10,000 baht per month, social support, and treatment seeking behavior had positive effect on prehospital delay time. Whereas, source of medical expense: self-pay, depression, and fear had negative effect on prehospital delay. The model explained 41.0% of the variance in prehospital delay time. The information obtained from this study is beneficial for nurses and health care providers in order to develop clinical practice guidelines for screening and early detection. Moreover, interventional program or national campaign to increase knowledge about PAOD among patients who were at risk should be developed. It is expected that patients who have knowledge of the signs and symptoms, risk factors, effects and appropriate treatment of PAOD would not be delayed in seeking appropriate hospital care.
dc.description.abstractผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตันเพียง 1 ใน 3 (Peripheral arterial occlusive disease: PAOD) เท่านั้นที่มารับการรักษาในโรงพยาบาล ภายหลังจากผู้ป่วยรับรู้ว่ามีอาการของโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน และ ผู้ป่วยส่วนใหญ่มาพบแพทย์เมื่อมีอาการเกิดแผลขาดเลือด (Ulceration) และ เกิดเนื้อเน่าตาย (gangrene) เป็นผลให้ผู้ป่วยมี ทางเลือกในการรักษาค่อนข้างน้อย ในที่สุดผู้ป่วยหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน จะถูกตัดขา (Amputation) และเสียชีวิต ภายใน 3 ปี ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมาโรงพยาบาลล่าช้าในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง คุณลักษณะส่วนบุคคล และ คุณลักษณะทางคลินิก การสนับสนุนทางสังคม ความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน ภาวะซึมเศร้าและความกลัว และ พฤติกรรมการแสวงหาทางสุขภาพ กับการเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลล่าช้าในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย อุดตัน และ 2.ทำนายการเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลล่าช้าในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตันจากปัจจัยดังกล่าว โดยกรอบแนวคิดพื้นฐานจากทฤษฎีการกำกับตนเองของลีเวนทาลและคาเมรอน กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตันรายใหม่หรือได้รับการวินิจฉัยมาแล้วไม่เกิน 4 เดือน จำนวน 212 คน ที่มารับการรักษาที่ โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย 3 แห่งในกรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามและทดสอบทางสถิติโดยใช้โปรแกรม SPSS เวอร์ชั่น 17.0 ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ใช้ระยะเวลาเฉลี่ยตั้งแต่รับรู้อาการจนถึงวันที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลที่มีศัลยแพทย์ทางด้านหลอดเลือด 95.76 วัน (SD = 162.62 วัน) โดยมีค่ามัธยฐาน 30 วัน ปัจจัยที่มีผล ต่อการมาโรงพยาบาลล่าช้าได้แก่ เพศ รายได้น้อยกว่า 10,000 บาท การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมแสวงหาการรักษามีผลทำให้ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลล่าช้ามากขึ้น ส่วนผู้ป่วยที่จ่ายค่ารักษาพยาบาลเอง ความกลัว และภาวะซึมเศร้า มีผลทำให้ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลเร็วขึ้น โดยปัจจัยดังกล่าวสามารถทำนายได้ 41% ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับพยาบาลและบุคลากรทางสุขภาพในการพัฒนาแนวปฏิบัติในการตรวจคัดกรองผู้ป่วยเบื้องต้นในผู้ป่วยที่มีโรคร่วมที่เป็นปัจจัยเสบียง ได้แก่ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูง รวมทั้งการรณรงค์เพื่อเพิ่มความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตันในผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน โดยคาดหวังว่าผู้ป่วยที่มีความรู้เรื่องอาการและอาการแสดง ปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ และการรักษาที่เหมาะสมของโรคหลอเลือดแดงส่วนปลายอุดตันจะสามารถเข้ารับการรักษาที่เหมาะสมอย่างทันท่วงที
dc.format.extentx, 127 leaves
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (Ph.D. (Nursing))--Mahidol University, 2013
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89545
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectPatients
dc.subjectPeripheral Arterial Occlusive Disease
dc.titleFactors influencing prehospital delay time among patients with peripheral arterial occlusive disease
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมาโรงพยาบาลล่าช้าในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน
dcterms.accessRightsrestricted access
mu.link.internalLinkhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2557/cd494/5137716.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Nursing
thesis.degree.disciplineNursing
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelDoctoral Degree
thesis.degree.nameDoctor of Philosophy

Files

Collections