Study on the effect of 2,6-Dihydroxyacetophenone on cholesterol metabolism in hyperlipidemic hamsters
Issued Date
2000
Copyright Date
2000
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 125 leaves : ill.
ISBN
9746641778
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Biochemistry))--Mahidol University, 2000
Suggested Citation
Siriporn Tanomchart Study on the effect of 2,6-Dihydroxyacetophenone on cholesterol metabolism in hyperlipidemic hamsters. Thesis (M.Sc. (Biochemistry))--Mahidol University, 2000. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94622
Title
Study on the effect of 2,6-Dihydroxyacetophenone on cholesterol metabolism in hyperlipidemic hamsters
Alternative Title(s)
การศึกษาผลของ 2,6 ไดไฮดรอกซีอะซีโตฟีโนน ต่อเมตาบอลิสมของโคเลสเตอรอลในหนูแฮมสเตอร์ที่มีไขมันสูง
Author(s)
Abstract
2,6-Dihydroxyacetophenone (2,6-DHA) is an analogue of 2,4,6trihydroxyacetophenone (THA), aglycone part of naturally occurring glucoside, 4,6dihydroxy-2-O- β-D-glucopyranosyl) acetophenone found in Curcuma comosa Roxb. (Family Zingiberaceae). 2,4,6-THA has been reported to effectively stimulate bile secretion by enhancing bile acid excretion resulting in decreased plasma cholesterol. Attempts have been made in this study to find out the mechanism by which 2,6dihydroxyacetophenone (DHA) lowers plasma cholesterol in hypercholesterolemic hamsters. Studies were performed in male hamsters induced to become hyperlipidemic by supplementing cholesterol 0.2% body weight (BW) in corn oil for 3 weeks. After plasma cholesterol was elevated to 250-350 mg/dl, a dose of 2,6-DHA (300-800 µmol/kg body weight) and duration of treatment which could reduce plasma lipids were determined. It was found that the optimum dose of 2,6-DHA which could reduce plasma cholesterol to 46% and plasma triglyceride to 73% of the untreated group was 400 µmol/kg body weight and the suitable duration was 10 days. In order to determine how 2,6-DHA could reduce plasma cholesterol, livers of 2,6-DHA treated and untreated animals were analyzed for free cholesterol, cholesteryl ester and triglyceride contents. Liver microsomes were analyzed for the activity of cholesterol α-hydroxylase, and a regulatory enzyme for conversion of cholesterol to bile salt. In feces, bile salt and total cholesterol were determined and in plasma, the distribution of cholesterol in VLDL, LDL and HDL fractions were measured. In the 2,6-DHA treated group, there was no significant difference on liver free cholesterol, cholesteryl ester or triglyceride content when compared with those of the untreated group. This indicated that 2,6-DHA had no effect on cholesterol storage and the key enzyme involved in cholesteryl ester synthesis, was acyl CoA cholesterol acyltransferase. However, in the liver microsome the activity of cholesterol α-hydroxylase increased 7-fold in animals fed 2,6-DHA compared to that of untreated animals. In feces of treated animals the bile salt and total cholesterol increased 2- and 6-fold respectively. Moreover, regarding distribution of cholesterol in various fractions of plasma lipoproteins, 2,6-DHA decreased cholesterol in VLDL and LDL but not in HDL fraction. The results obtained in this study indicate that the hypocholesterolemic effect of 2,6-DHA was on the activation of cholesterol 7a-hydroxylase activity and the excretion of cholesterol and bile salt in feces. The increased fecal excretion of bile salt would up-regulate LDL-receptors leading to a lowering of cholesterol in VLDL and LDL fraction. Accordingly, this compound may have potential for development as a therapeutic agent for treatment of cholestasis, dissolving gallstones and lowering plasma lipid.
2,6-Dihydroxyacetophenone (DHA) เป็นอนุพันธ์ของ 2,4,6-trihydroxyacetophenone (THA) ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่ใช่น้ำตาล (aglycone) ของไกลโคไซด์ 4,6-dihydroxy-2-O- (β-D- glucopyranosyl) acetophenone ที่มีอยู่ในพืชสมุนไพรว่านชักมดลูก ซึ่งเป็นพืชในตระกูล Zingiberaceae ได้มีรายงานว่า 2,4,6-THA มีฤทธิ์ในการกระตุ้นการหลั่งน้ำดี โดยการเพิ่มการขับออกของเกลือน้ำดี เป็นผลทำให้สามารถลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดได้ งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษากลไกการทำงาน ของ 2,6-DHA ในการลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดของแฮมสเตอร์โดยทำการทดลองในหนูแฮมสเตอร์ เพศผู้ซึ่งถูกเหนี่ยวนำให้อยู่ในสภาวะที่มีระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูง ประมาณ 250-350 mg/dl ด้วยการป้อนโคเลสเตอรอล 0.2% น้ำหนักตัว ที่ละลายในน้ำมันข้าวโพด เป็นเวลา 3 สัปดาห์ จากนั้น ได้ทำการให้ 2,6-DHA (300-800 µmol/kg body weight) ที่ระยะเวลาต่างๆ กัน เพื่อหา ปริมาณและระยะเวลาของการให้ 2,6-DHA ที่เหมาะสมที่สามารถลดระดับไขมันในพลาสมาได้ ผลการ ทดลองพบว่า ปริมาณของ 2,6-DHA ที่ต่ำที่สุดที่สามารถลดระดับพลาสมาโคเลสเตอรอลได้ 46% และ ไตรกลีเซอไรด์ได้ 73% คือ 400 µmol/kg body weight และระยะเวลาที่เหมาะสมในการ ให้คือ 10 วัน ดังนั้นจึงได้ทำการศึกษากลไกการทำงานของ 2,6-DHA ในการลดระดับโคเลสเตอรอล ในพลาสมา โดยการวัดระดับโคเลสเตอรอลรูปอิสระ รูปเอสเตอร์ ไตรกลีเซอไรด์ในตับและ activity ของเอนไซม์ cholesterol 7α-hydroxylase ใน liver microsomes ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ ควบคุมการเปลี่ยนโคเลสเตอรอลในตับให้เป็นเกลือน้ำดีรวมทั้งระดับของโคเลสเตอรอลในพลาสมา ไลโปโปรตีน (VLDL, LDL และ HDL) ผลการทดลองที่ได้พบว่าในแฮมสเตอร์ที่ให้และไม่ได้ให้ 2,6-DHA ปริมาณโคเลสเตอรอล, โคเลสเตอรอลเอสเตอร์ และไตรกลีเซอไรด์ในตับ จะมีปริมาณ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แสดงให้เห็นว่า 2,6-DHA ไม่มีผลต่อเอนไซม์ Acyl CoA: cholesterol acyltransferase (ACAT) และไม่ทำให้มีการสะสมไขมันในตับ แต่ได้พบว่าในกลุ่มที่ได้รับ 2,6-DHA activity ของเอนไซม์ cholesterol 7 α-hydroxylase เพิ่มขึ้น 7 เท่า และมีปริมาณของ bile salt และโคเลสเตอรอลในอุจจาระเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า 2,6-DHA มีผลในการลด โคเลสเตอรอล VLDL และ LDL แต่ HDL ไม่เปลี่ยนแปลง จากผลการทดลองสรุปได้ว่า 2,6-DHA สามารถลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดของแฮมสเตอร์ที่อยู่ในสภาวะ hyperlipidemia คล้ายคลึง กับ 2,4,6-THA โดยการเพิ่ม activity ของเอนไซม์ cholesterol 7 α-hydroxylase ทำให้โคเลสเตอรอลในตับถูกเปลี่ยนให้เป็น bile salt มากขึ้นและเพิ่มการขับออกของเกลือน้ำดี และโคเลสเตอรอลทางอุจจาระ นอกจากนี้ 2,6-DHA ยังมีผลทำให้มีการลดปริมาณโคเลสเตอรอลใน ไลโปโปรตีน VLDL และ LDL ทำให้ลดอัตราการเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดอุดตัน ในงานวิจัย เรื่องนี้ให้แนวทางในการที่จะพัฒนานำ 2,6-DHA ไปใช้เป็นยาลดระดับโคเลสเตอรอลและไขมัน ในเลือด และในขณะเดียวกันอาจจะช่วยป้องกันการเกิดนิ่วในถุงน้ำดี
2,6-Dihydroxyacetophenone (DHA) เป็นอนุพันธ์ของ 2,4,6-trihydroxyacetophenone (THA) ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่ใช่น้ำตาล (aglycone) ของไกลโคไซด์ 4,6-dihydroxy-2-O- (β-D- glucopyranosyl) acetophenone ที่มีอยู่ในพืชสมุนไพรว่านชักมดลูก ซึ่งเป็นพืชในตระกูล Zingiberaceae ได้มีรายงานว่า 2,4,6-THA มีฤทธิ์ในการกระตุ้นการหลั่งน้ำดี โดยการเพิ่มการขับออกของเกลือน้ำดี เป็นผลทำให้สามารถลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดได้ งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษากลไกการทำงาน ของ 2,6-DHA ในการลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดของแฮมสเตอร์โดยทำการทดลองในหนูแฮมสเตอร์ เพศผู้ซึ่งถูกเหนี่ยวนำให้อยู่ในสภาวะที่มีระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูง ประมาณ 250-350 mg/dl ด้วยการป้อนโคเลสเตอรอล 0.2% น้ำหนักตัว ที่ละลายในน้ำมันข้าวโพด เป็นเวลา 3 สัปดาห์ จากนั้น ได้ทำการให้ 2,6-DHA (300-800 µmol/kg body weight) ที่ระยะเวลาต่างๆ กัน เพื่อหา ปริมาณและระยะเวลาของการให้ 2,6-DHA ที่เหมาะสมที่สามารถลดระดับไขมันในพลาสมาได้ ผลการ ทดลองพบว่า ปริมาณของ 2,6-DHA ที่ต่ำที่สุดที่สามารถลดระดับพลาสมาโคเลสเตอรอลได้ 46% และ ไตรกลีเซอไรด์ได้ 73% คือ 400 µmol/kg body weight และระยะเวลาที่เหมาะสมในการ ให้คือ 10 วัน ดังนั้นจึงได้ทำการศึกษากลไกการทำงานของ 2,6-DHA ในการลดระดับโคเลสเตอรอล ในพลาสมา โดยการวัดระดับโคเลสเตอรอลรูปอิสระ รูปเอสเตอร์ ไตรกลีเซอไรด์ในตับและ activity ของเอนไซม์ cholesterol 7α-hydroxylase ใน liver microsomes ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ ควบคุมการเปลี่ยนโคเลสเตอรอลในตับให้เป็นเกลือน้ำดีรวมทั้งระดับของโคเลสเตอรอลในพลาสมา ไลโปโปรตีน (VLDL, LDL และ HDL) ผลการทดลองที่ได้พบว่าในแฮมสเตอร์ที่ให้และไม่ได้ให้ 2,6-DHA ปริมาณโคเลสเตอรอล, โคเลสเตอรอลเอสเตอร์ และไตรกลีเซอไรด์ในตับ จะมีปริมาณ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แสดงให้เห็นว่า 2,6-DHA ไม่มีผลต่อเอนไซม์ Acyl CoA: cholesterol acyltransferase (ACAT) และไม่ทำให้มีการสะสมไขมันในตับ แต่ได้พบว่าในกลุ่มที่ได้รับ 2,6-DHA activity ของเอนไซม์ cholesterol 7 α-hydroxylase เพิ่มขึ้น 7 เท่า และมีปริมาณของ bile salt และโคเลสเตอรอลในอุจจาระเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า 2,6-DHA มีผลในการลด โคเลสเตอรอล VLDL และ LDL แต่ HDL ไม่เปลี่ยนแปลง จากผลการทดลองสรุปได้ว่า 2,6-DHA สามารถลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดของแฮมสเตอร์ที่อยู่ในสภาวะ hyperlipidemia คล้ายคลึง กับ 2,4,6-THA โดยการเพิ่ม activity ของเอนไซม์ cholesterol 7 α-hydroxylase ทำให้โคเลสเตอรอลในตับถูกเปลี่ยนให้เป็น bile salt มากขึ้นและเพิ่มการขับออกของเกลือน้ำดี และโคเลสเตอรอลทางอุจจาระ นอกจากนี้ 2,6-DHA ยังมีผลทำให้มีการลดปริมาณโคเลสเตอรอลใน ไลโปโปรตีน VLDL และ LDL ทำให้ลดอัตราการเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดอุดตัน ในงานวิจัย เรื่องนี้ให้แนวทางในการที่จะพัฒนานำ 2,6-DHA ไปใช้เป็นยาลดระดับโคเลสเตอรอลและไขมัน ในเลือด และในขณะเดียวกันอาจจะช่วยป้องกันการเกิดนิ่วในถุงน้ำดี
Description
Biochemistry (Mahidol University 2000)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Biochemistry
Degree Grantor(s)
Mahidol University