Fear of crime among people under community oriented policing services project : the comparative study between Kun Ying Wat Som Jeen community and Phai Kiew community
Issued Date
2023
Copyright Date
2014
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 162 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Usanut Sangtongdee Fear of crime among people under community oriented policing services project : the comparative study between Kun Ying Wat Som Jeen community and Phai Kiew community. Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89822
Title
Fear of crime among people under community oriented policing services project : the comparative study between Kun Ying Wat Som Jeen community and Phai Kiew community
Alternative Title(s)
ความหวาดกลัวอาชญากรรมของประชาชนตามโครงการตำรวจผู้รับใช้ชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนวัดคุณหญิงส้มจีนและชุมชนไผ่เขียว
Author(s)
Abstract
The purposes of this research were 1) to investigate the fear of crime in both the Wat Kun Ying Som Jeen and Phai Kiew communities, 2) to investigate the sense of community, police services, social cohesion, victim experience and media awareness influencing fear related crimes, and 3) to study the processes and procedures involved in the Community Oriented Policing Services (COPS) project. The research method used the mixed method research. The sample consisted of 622 citizens and 10 police officers. The instruments were questionnaire and focus group interview. Data analysis consisted of t-test, ANOVA, and multiple regression analysis for quantitative data, and content analysis and analytic of induction for qualitative data. The research results were as follows: 1) The demographic factors of Wat Kun Ying Som Jeen community found that relationships with the fear of crime was significant; those factors included sex, age, salary, and time period of resident. Age and salary were the only variables that were significant in Phai Kiew community. 2) The study of social factors in Wat Kun Ying Som Jeen community found that police services and social cohesion had an influence on the fear of crime. Regarding other factors, the sense of community and police services were influenced by the fear of crime in Phai Kiew community. And 3) the collaboration between the police and citizens to resolve public order issues and crime problems under the project of COPS had affectively reduced the mistrust of the local law enforcements
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความหวาดกลัวอาชญากรรมของชุมชนวัดคุณหญิงส้มจีนและชุมชนไผ่เขียว 2) เพื่อศึกษาการรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับชุมชน การให้บริการของตำรวจ ความยึดเหนี่ยวทางสังคม ประสบการณ์ตกเป็นเหยื่อ และการรับรู้ข่าวสารที่มีอิทธิพลต่อความหวาดกลัว และ 3)เพื่อศึกษาการดำเนินโครงการตำรวจผู้รับใช้ชุมชน วิธีการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ประชาชน 622 คน และตำรวจ 10 คน เครื่องมือประกอบด้วยแบบสอบถามและการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้การทดสอบ t-test, การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1)ปัจจัยลักษณะทางประชากรของชุมชนวัดคุณหญิงส้มจีน ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ และระยะเวลาพักอาศัย มีความสัมพันธ์กับความหวาดกลัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนการศึกษาจากชุมชนไผ่เขียวพบว่า มีเพียง เพศ และรายได้เท่านั้น 2)การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยทางสังคมพบว่า การให้บริการของตำรวจและความยึดเหนี่ยวทางสังคมของชุมชนวัดคุณหญิงส้มจีนมีผลกระทบต่อความหวาดกลัว ส่วนการศึกษาจากชุมชนไผ่เขียว พบว่า การรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับชุมชนและการให้บริการของตำรวจที่มีอิทธิพลต่อความหวาดกลัว 3)การทำงานร่วมกันระหว่างตำรวจกับประชาชนในการแก้ไขปัญหาความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย และปัญหาอาชญากรรมภายใต้โครงการตำรวจผู้รับใช้ชุมชนส่งผลให้ผู้อยู่อาศัยในชุมชนลดความหวาดระแวง
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความหวาดกลัวอาชญากรรมของชุมชนวัดคุณหญิงส้มจีนและชุมชนไผ่เขียว 2) เพื่อศึกษาการรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับชุมชน การให้บริการของตำรวจ ความยึดเหนี่ยวทางสังคม ประสบการณ์ตกเป็นเหยื่อ และการรับรู้ข่าวสารที่มีอิทธิพลต่อความหวาดกลัว และ 3)เพื่อศึกษาการดำเนินโครงการตำรวจผู้รับใช้ชุมชน วิธีการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ประชาชน 622 คน และตำรวจ 10 คน เครื่องมือประกอบด้วยแบบสอบถามและการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้การทดสอบ t-test, การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1)ปัจจัยลักษณะทางประชากรของชุมชนวัดคุณหญิงส้มจีน ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ และระยะเวลาพักอาศัย มีความสัมพันธ์กับความหวาดกลัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนการศึกษาจากชุมชนไผ่เขียวพบว่า มีเพียง เพศ และรายได้เท่านั้น 2)การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยทางสังคมพบว่า การให้บริการของตำรวจและความยึดเหนี่ยวทางสังคมของชุมชนวัดคุณหญิงส้มจีนมีผลกระทบต่อความหวาดกลัว ส่วนการศึกษาจากชุมชนไผ่เขียว พบว่า การรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับชุมชนและการให้บริการของตำรวจที่มีอิทธิพลต่อความหวาดกลัว 3)การทำงานร่วมกันระหว่างตำรวจกับประชาชนในการแก้ไขปัญหาความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย และปัญหาอาชญากรรมภายใต้โครงการตำรวจผู้รับใช้ชุมชนส่งผลให้ผู้อยู่อาศัยในชุมชนลดความหวาดระแวง
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Criminology, Justice Administration and Society
Degree Grantor(s)
Mahidol University