Identifying standard testing time for estimation improvement in it project management
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 51 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Information Teachology Management))--Mahidol University 2019
Suggested Citation
Montree Thirasakthana Identifying standard testing time for estimation improvement in it project management. Thesis (M.Sc. (Information Teachology Management))--Mahidol University 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91685
Title
Identifying standard testing time for estimation improvement in it project management
Alternative Title(s)
การกำหนดแนวทางมาตรฐานในการปรับปรุงการประมาณระยะเวลาการทดสอบในการบริหารโครงการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
Author(s)
Abstract
The key challenge of executing the successful project under the committed scope, time, cost and quality is the ability of estimating the required efforts and resources to be used in the project which potentially link to the delay in project deliverables and cause to risk of loss in business opportunity, business reputation and financial impacts. There are several methodologies that have been proposed for the improvement but it is still uncertain or unclear in the adoption of estimation guideline. Thus, this research was to propose more clearer and easier method to improve the mission of executing for project by introducing an adoption of Lean Six-Sigma methodology for the improvement of estimation for IT project. The outcome of this research was to provide the guideline of calculation method in specific organization in order to improve the efforts estimation for testing execution using Six Sigma methodology. The calculation was initiated by applying input data using some historical projects to seek for mean normalization and 3 sigma upper control limit of each testing step. The result accuracy was validated by comparing with selected finished project and some executing projects. The results have shown that the actual time consumption of each testing step is run in between mean normalization and 3 sigma upper control limit which means that the proposed methodology has been able to apply the project estimation specifically on testing activity. In addition, the research methodology has improved the upper control limit to two Sigma for more efficient control and potential applying the other phases of project execution as well.
งานวิจัยนี้มุ่งเน้นที่ต้องการนำเสนอแนวทางที่ง่ายและชัดเจนในการปรับปรุงการดำเนินงานโครงการให้ประสบความสำเร็จตามความคาดหวัง โดยนำเสนอจุดเริ่มต้นการปรับปรุงเล็ก ๆ ในส่วนของการปรับปรุงขั้นตอนการกำหนดระยะเวลาของขั้นตอนการทดสอบระบบงานฯ ซึ่งเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญ และท้าทาย ที่สามารถส่งผลกระทบต่อการดำเนินโครงการให้ประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะในส่วนของความสามารถในการส่งมอบให้ได้ในระยะเวลาที่กำหนด การนำเสนอนี้เป็นการประยุกต์แนวทาง Lean Six-Sigma ที่นิยมใช้ในการปรับปรุงคุณภาพโดยรวมในธุรกิจอุตสาหกรรมที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง มาใช้กับการปรับปรุงการดำเนินโครงการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลที่คาดหวัง จากงานวิจัยนี้ คือการค้นหาแนวทางพื้นฐานในปรับปรุงการประมาณการของการกำหนดระยะเวลาในการดำเนินการในขั้นตอนการทดสอบระบบงานฯ ให้มีความถูกต้องมากขึ้น จากผลการวิจัยนี้ ได้แสดงถึงวิธีการทดสอบความแม่นยำในการประมาณการโดยวิธีของ Six Sigma ด้วยการเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบของแต่ละขั้นตอนในโครงการที่เลือกใช้ในงานวิจัยนี้ กับค่า mean normalization และค่า 3 sigma บนค่า upper control limit ซึ่งผลที่ได้คือ ผลการคำนวณของตัวแปร 3 sigma บนค่า upper control limit สามารถใช้เป็นค่าเริ่มต้นของการประมาณการของระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบของแต่ละขั้นตอนในโครงการที่เลือกใช้ในงานวิจัยนี้ได้ ทั้งนี้ยังมีความเป็นไปได้ที่จะปรับเปลี่ยนค่าการคำนวณของตัวแปร upper control limit โดยลดค่า 3 sigma ไปที่ 2 sigma แทนซึ่งอาจจะทำให้การกำหนดค่าเริ่มต้นในการประมาณการมีความแม่นยำมากขึ้น และการวิจัยนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์กับขั้นตอนอื่นๆ ของขบวนการทางการบริหารโครงการได้ด้วย
งานวิจัยนี้มุ่งเน้นที่ต้องการนำเสนอแนวทางที่ง่ายและชัดเจนในการปรับปรุงการดำเนินงานโครงการให้ประสบความสำเร็จตามความคาดหวัง โดยนำเสนอจุดเริ่มต้นการปรับปรุงเล็ก ๆ ในส่วนของการปรับปรุงขั้นตอนการกำหนดระยะเวลาของขั้นตอนการทดสอบระบบงานฯ ซึ่งเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญ และท้าทาย ที่สามารถส่งผลกระทบต่อการดำเนินโครงการให้ประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะในส่วนของความสามารถในการส่งมอบให้ได้ในระยะเวลาที่กำหนด การนำเสนอนี้เป็นการประยุกต์แนวทาง Lean Six-Sigma ที่นิยมใช้ในการปรับปรุงคุณภาพโดยรวมในธุรกิจอุตสาหกรรมที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง มาใช้กับการปรับปรุงการดำเนินโครงการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลที่คาดหวัง จากงานวิจัยนี้ คือการค้นหาแนวทางพื้นฐานในปรับปรุงการประมาณการของการกำหนดระยะเวลาในการดำเนินการในขั้นตอนการทดสอบระบบงานฯ ให้มีความถูกต้องมากขึ้น จากผลการวิจัยนี้ ได้แสดงถึงวิธีการทดสอบความแม่นยำในการประมาณการโดยวิธีของ Six Sigma ด้วยการเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบของแต่ละขั้นตอนในโครงการที่เลือกใช้ในงานวิจัยนี้ กับค่า mean normalization และค่า 3 sigma บนค่า upper control limit ซึ่งผลที่ได้คือ ผลการคำนวณของตัวแปร 3 sigma บนค่า upper control limit สามารถใช้เป็นค่าเริ่มต้นของการประมาณการของระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบของแต่ละขั้นตอนในโครงการที่เลือกใช้ในงานวิจัยนี้ได้ ทั้งนี้ยังมีความเป็นไปได้ที่จะปรับเปลี่ยนค่าการคำนวณของตัวแปร upper control limit โดยลดค่า 3 sigma ไปที่ 2 sigma แทนซึ่งอาจจะทำให้การกำหนดค่าเริ่มต้นในการประมาณการมีความแม่นยำมากขึ้น และการวิจัยนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์กับขั้นตอนอื่นๆ ของขบวนการทางการบริหารโครงการได้ด้วย
Description
Information Teachology Management (Mahidol University 2019)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Teachology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University