Giant Salvinia (Salvinia molesta) as a substitutional source of protein in the kibble for freshwater herbivorous fish
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xxii, 180 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Thanamas Singkong Giant Salvinia (Salvinia molesta) as a substitutional source of protein in the kibble for freshwater herbivorous fish. Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92213
Title
Giant Salvinia (Salvinia molesta) as a substitutional source of protein in the kibble for freshwater herbivorous fish
Alternative Title(s)
การใช้จอกหูหนูยักษ์ทดแทนโปรตีนในอาหารปลากินพืช
Author(s)
Abstract
This study aimed to develop kibble feed of Nile Tilapia (Oreochromis niloticus) and Thai silver barb (Barbodes gonionotus) by using Giant Salvinia (Salvinia molesta) as an additional source of protein instead of fish meal. Kibble feed of formula 1 (control) 2, 3, 4 and 5 contains proportion (in percentage) of S. molesta replacement of fish meal in feed formula 0, 25, 50, 75 and 100%, respectively. Nile Tilapia and Thai silver barb for this experiment had average weight 161 ± 14 g/fish and 8.61 ± 0.98 g/fish, respectively. An experiment was intensive culture and carried out in the cages in Maeklong River for three months. The results showed that average final weight and length, absolute growth rate (AGR) and feed conversion ratio (FCR) of Nile Tilapia fed with all formula were statistically significantly different (P<0.05). Average weight and length, AGR and FCR of Nile Tilapia fed with formula 2 had the closest to formula 1 (control), whereas specific growth rate (SGR) and survival rate (SR) were not significantly different (P>0.05) among formulas. The average final weight and length of Thai silver barb fed with all formula were statistically significantly different (P<0.05), average weight and length of Thai silver barb fed with formula 2 had the closest to formula 1 (control), whereas AGR, SGR, SR and FCR were not significantly different (P>0.05) among formulas. Water quality (water temperature, transparency, pH, hardness, alkalinity, DO, BOD, ammonia) in each cage of both for Nile Tilapia and Thai silver barb was in the suitable range of the standard of aquaculture. It is suggested according to the results that aquaculturist choose to consider applying fish feed mixed with S. molesta in three different criteria: (1) to consider the protein level in the kibble feed, (2) to consider the AGR and FCR, and (3) to consider the cost of production and break-even point. In this study, the results showed that fish feed formula 2 had the lowest break-even point; thus, it is recommended for culturing Nile Tilapia, but this experiment is not worth the investment for culturing Thai silver barb fingerlings, which may depend on the initial size of Thai silver barb, which is not suitable for the size of fish feed. Due to the small size of Thai silver barb, they feed on single cell algae and zooplankton. After all criteria for consideration, a proportion of 25% S. molesta of fish feed formula 2 is the most suitable to be used as a substitutional source of protein from fish meal for Nile Tilapia culture.
การทดลองเลี้ยงปลากินพืชโดยใช้จอกหูหนูยักษ์ (Salvinia molesta) ทดแทนโปรตีนในอาหารปลาแบบเม็ดโดยให้สัดส่วนอาหารทดลองสูตรที่ 1 (สูตรควบคุม), 2, 3, 4 และ 5 ทดแทนปลาป่นด้วยจอกหูหนูยักษ์ในสัดส่วนร้อยละ 0, 25, 50, 75 และ 100 ตามลำดับ ทำการทดลองด้วยการเลี้ยงปลานิล (Oreochromis niloticus) และปลาตะเพียนขาว (Barbodes gonionotus) น้ำหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 161 ± 14 กรัม/ตัว และ 8.61 ± 0.98 กรัม/ตัว ตามลำดับ โดยวิธีการเลี้ยงเป็นแบบ หนาแน่น (Intensive culture) และทำ การเลี้ยงในกระชังในแม่น้ำแม่กลองเป็นระยะเวลา 3 เดือน ผลการศึกษาพบว่า ปลานิลที่เลี้ยงด้วยสูตรอาหารที่มีสัดส่วนโปรตีนจากจอกหูหนูยักษ์แตกต่างกัน มีผลทำให้น้าหนักและความยาวเฉลี่ย อัตราการเจริญเติบโต และอัตราการแลกเนื้อ แตกต่างกันในแต่ละสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยอาหารสูตรที่ 2 ทำให้ปลานิลมีน้าหนักและความยาวเฉลี่ย อัตราการเจริญเติบโต และอัตราการแลกเนื้อใกล้เคียงกับสูตรควบคุมมากที่สุด ส่วนอัตราการเจริญเติบโตจาเพาะ และอัตราการรอดของปลานิลแตกต่างกัน ในแต่ละสูตร อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ส่วนปลาตะเพียนขาวที่เลี้ยงด้วยสูตรอาหารที่มีสัดส่วนโปรตีนจากจอกหูหนูยักษ์แตกต่างกัน มีผลทำให้น้ำหนักและความยาวเฉลี่ยแตกต่างกันในแต่ละสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยอาหารสูตรที่ 2 ทาให้ปลาตะเพียนขาวมีน้ำหนักและความยาวเฉลี่ยใกล้เคียงกับสูตรควบคุมมากที่สุด ส่วนอัตราการเจริญเติบโต อัตราการเจริญเติบโตจำเพาะอัตราการรอด และอัตราการแลกเนื้อ แตกต่างกันในแต่ละสูตรอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) โดยคุณภาพน้ำเฉลี่ย (อุณหภูมิน้า, ความโปร่งแสง, pH, ความกระด้าง, ความเป็นด่าง, DO, BOD, แอมโมเนีย) ในแต่ละกระชังของทุกชุดการทดลองอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเมื่อพิจารณาสามารถกำหนดเกณฑ์การเลือกสูตรอาหารที่ใช้ในการเลี้ยงปลาได้ 3 เกณฑ์ คือ (1) ระดับโปรตีนในอาหารปลาสำเร็จรูป โดยอาหารสูตรที่ 2, 3, 4 และ 5 สามารถนำมาใช้เลี้ยงปลานิล เพราะมีระดับโปรตีนในอาหารอยู่ในระดับที่ปลากินพืชต้องการ (2) อัตราการเจริญเติบโตและอัตราการแลกเนื้อโดยอาหารสูตรที่ 2, 4 และ 5 สามารถนำมาใช้เลี้ยงปลานิลได้ แต่อาหารปลาที่มีส่วนผสมของจอกหูหนูยักษ์ทั้งหมด 4 สูตร ในการทดลองนี้ยังไม่เหมาะสมในการนำไปเลี้ยงลูกปลาตะเพียนขาวขนาดเล็ก และ (3) ต้นทุนการผลิตและจุดคุ้มทุนราคาขาย โดยอาหารสูตรที่ 2 มีจุดคุ้มทุนราคาขายถูกที่สุดเหมาะสาหรับนำมาเลี้ยงปลานิลได้ แต่ในการทดลองนี้ยังไม่เหมาะสมในการนำมาเลี้ยงลูกปลาตะเพียนขาวขนาดเล็ก ซึ่งอาจเกิดจากขนาดเริ่มต้นของปลาตะเพียนขาวที่ไม่เหมาะสมกับขนาดของอาหารปลา เนื่องจากปลาตะเพียนขาวขนาดเล็กจะกินพวกสาหร่ายเซลล์เดียวและแพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็ก สรุปได้ว่าสัดส่วนของจอกหูหนูยักษ์ 25% (สูตรที่ 2) เหมาะสมในการใช้เป็นแหล่งทดแทนโปรตีนจากปลาป่นในอาหารปลานิลได้เมื่อพิจารณาตามเกณฑ์ทั้ง 3 เกณฑ์ร่วมกัน
การทดลองเลี้ยงปลากินพืชโดยใช้จอกหูหนูยักษ์ (Salvinia molesta) ทดแทนโปรตีนในอาหารปลาแบบเม็ดโดยให้สัดส่วนอาหารทดลองสูตรที่ 1 (สูตรควบคุม), 2, 3, 4 และ 5 ทดแทนปลาป่นด้วยจอกหูหนูยักษ์ในสัดส่วนร้อยละ 0, 25, 50, 75 และ 100 ตามลำดับ ทำการทดลองด้วยการเลี้ยงปลานิล (Oreochromis niloticus) และปลาตะเพียนขาว (Barbodes gonionotus) น้ำหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 161 ± 14 กรัม/ตัว และ 8.61 ± 0.98 กรัม/ตัว ตามลำดับ โดยวิธีการเลี้ยงเป็นแบบ หนาแน่น (Intensive culture) และทำ การเลี้ยงในกระชังในแม่น้ำแม่กลองเป็นระยะเวลา 3 เดือน ผลการศึกษาพบว่า ปลานิลที่เลี้ยงด้วยสูตรอาหารที่มีสัดส่วนโปรตีนจากจอกหูหนูยักษ์แตกต่างกัน มีผลทำให้น้าหนักและความยาวเฉลี่ย อัตราการเจริญเติบโต และอัตราการแลกเนื้อ แตกต่างกันในแต่ละสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยอาหารสูตรที่ 2 ทำให้ปลานิลมีน้าหนักและความยาวเฉลี่ย อัตราการเจริญเติบโต และอัตราการแลกเนื้อใกล้เคียงกับสูตรควบคุมมากที่สุด ส่วนอัตราการเจริญเติบโตจาเพาะ และอัตราการรอดของปลานิลแตกต่างกัน ในแต่ละสูตร อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ส่วนปลาตะเพียนขาวที่เลี้ยงด้วยสูตรอาหารที่มีสัดส่วนโปรตีนจากจอกหูหนูยักษ์แตกต่างกัน มีผลทำให้น้ำหนักและความยาวเฉลี่ยแตกต่างกันในแต่ละสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยอาหารสูตรที่ 2 ทาให้ปลาตะเพียนขาวมีน้ำหนักและความยาวเฉลี่ยใกล้เคียงกับสูตรควบคุมมากที่สุด ส่วนอัตราการเจริญเติบโต อัตราการเจริญเติบโตจำเพาะอัตราการรอด และอัตราการแลกเนื้อ แตกต่างกันในแต่ละสูตรอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) โดยคุณภาพน้ำเฉลี่ย (อุณหภูมิน้า, ความโปร่งแสง, pH, ความกระด้าง, ความเป็นด่าง, DO, BOD, แอมโมเนีย) ในแต่ละกระชังของทุกชุดการทดลองอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเมื่อพิจารณาสามารถกำหนดเกณฑ์การเลือกสูตรอาหารที่ใช้ในการเลี้ยงปลาได้ 3 เกณฑ์ คือ (1) ระดับโปรตีนในอาหารปลาสำเร็จรูป โดยอาหารสูตรที่ 2, 3, 4 และ 5 สามารถนำมาใช้เลี้ยงปลานิล เพราะมีระดับโปรตีนในอาหารอยู่ในระดับที่ปลากินพืชต้องการ (2) อัตราการเจริญเติบโตและอัตราการแลกเนื้อโดยอาหารสูตรที่ 2, 4 และ 5 สามารถนำมาใช้เลี้ยงปลานิลได้ แต่อาหารปลาที่มีส่วนผสมของจอกหูหนูยักษ์ทั้งหมด 4 สูตร ในการทดลองนี้ยังไม่เหมาะสมในการนำไปเลี้ยงลูกปลาตะเพียนขาวขนาดเล็ก และ (3) ต้นทุนการผลิตและจุดคุ้มทุนราคาขาย โดยอาหารสูตรที่ 2 มีจุดคุ้มทุนราคาขายถูกที่สุดเหมาะสาหรับนำมาเลี้ยงปลานิลได้ แต่ในการทดลองนี้ยังไม่เหมาะสมในการนำมาเลี้ยงลูกปลาตะเพียนขาวขนาดเล็ก ซึ่งอาจเกิดจากขนาดเริ่มต้นของปลาตะเพียนขาวที่ไม่เหมาะสมกับขนาดของอาหารปลา เนื่องจากปลาตะเพียนขาวขนาดเล็กจะกินพวกสาหร่ายเซลล์เดียวและแพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็ก สรุปได้ว่าสัดส่วนของจอกหูหนูยักษ์ 25% (สูตรที่ 2) เหมาะสมในการใช้เป็นแหล่งทดแทนโปรตีนจากปลาป่นในอาหารปลานิลได้เมื่อพิจารณาตามเกณฑ์ทั้ง 3 เกณฑ์ร่วมกัน
Description
Technology of Environmental Management (Mahidol University 2019)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Technology of Environmental Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University