Genetically engineering an active hybrid mosquito-larvicidal toxin

dc.contributor.advisorSakol Panyim
dc.contributor.advisorChanan Angsuthanasombat
dc.contributor.advisorKatzenmeier Gerd
dc.contributor.authorPanadda Boonserm
dc.date.accessioned2024-07-05T02:24:56Z
dc.date.available2024-07-05T02:24:56Z
dc.date.copyright1996
dc.date.created1996
dc.date.issued2024
dc.descriptionBiochemistry (Mahidol University 1996)
dc.description.abstractDuring sporulation, Bacillus thuringiensis subsp. israelensis (Bti) and Bacillus sphaericus (Bs) produce toxin inclusions which are specifically toxic to mosquito larvae. Whilst Bs toxins are toxic mainly to Culex larvae, Bti inclusions containing four major toxins, CryIVA, CryIVB, CryIVD and CytA, are much more active against Aedes species. An attempt was made to construct an active hybrid toxin with a broader range of toxicity. By using Vent DNA polymerase in a PCR based reaction known as SOE (gene splicing by overlap extension), fusion genes were obtained in which the truncated cryIVB gene segment was attached to either of the Bs toxin genes. These fusion gene fragments of 3.7 and 3.3 kb were subsequently cloned into the pMEx8 vector yielding recombinant plasmids designated as plVB-7051 and pIVB-7042. When these recombinant plasmids were expressed in E. coli under the regulation of tac promoter, fusion proteins were apparently produced as sedimentable inclusions. Western blot analysis revealed that the sedimented protein fractions from E. coli clone IVB-7042 contained a major immunoreactive band of 110 kDa, but no hybrid product was observed in those prepared from clone IVB-7051. In toxicity assays, E. coli cells harbouring pIVB-7042 was toxic to Aedes aegypti larvae but had no effect to Culex quinquefasciatus larvae. However, E. coli cells containing pIVB-7051 showed no mosquito-larvicidal activity against either of the larvae.
dc.description.abstractBacillus thuringiensis สายพันธุ์ israelensis (Bti) และ Bacillus sphaericus (Bs) เป็นแบคทีเรีย ที่ผลิตสารพิษในรูปของผลึกโปรตีนในระหว่างการสร้างสปอร์ ซึ่งมีฤทธิ์ฆ่าลูกน้ำยุงได้อย่างจำเพาะเจาะจง โดยโปรตีน สารพิษของ Bs มีความจำเพาะต่อลูกน้ำยุงสายพันธุ์ Culex มากที่สุด ในขณะที่ผลึกโปรตีนสารพิษจาก Bti ประกอบด้วย โปรตีน CryIVA, CryIVB, CryIVD และ CytA ที่ออกฤทธิ์ ต่อลูกน้ำยุงสายพันธุ์ Aedes ได้ดีกว่า ดังนั้นการสร้าง โปรตีนสารพิษลูกผสม จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพในการฆ่าลูกน้ำยุงได้หลายสายพันธุ์ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้เชื่อมส่วนของยีนที่ควบคุม การสร้างโปรตีนสารพิษของ cryIVB-Bti เข้ากับยีนที่ควบคุม การสร้างโปรตีนสารพิษขนาด 51 และหรือ 42 กิโลดาลตัน ของ Bs โดยใช้เทคนิค SOE ซึ่งอาศัยหลักการทาง PCR ร่วม กับการใช้เอนไซม์ Vent DNA polymerase และได้ผลิตผล ตามต้องการ คือ 3.7 และ 3.3 กิโลเบส จากนั้นได้นำมา เชื่อมต่อเข้ากับพลาสมิดพาหะ(pMEx8) และใช้ชื่อพลาสมิด ลูกผสมว่า pIVB-7051 และ pIVB-7042 โดยพบว่าพลาสมิด ลูกผสมทั้ง pIVB-7042 และ pIVB-7051 สามารถแสดงออกได้ ใน E. coli ภายใต้การควบคุมของ tac promoter และให้ ผลิตผลในรูปของผลึกโปรตีน จากการตรวจสอบ Western blot พบว่าผลึกโปรตีนสารพิษจากพลาสมิดลูกผสม pIVB-7042 สามารถ ทำปฏิกิริยาอย่างจำเพาะกับแอนติบอดี้และได้รับแถบโปรตีน ขนาด 110 กิโลดาลตัน ในขณะที่พลาสมิดลูกผสม pIVB-7051 ไม่ให้ผลิตผลตามต้องการ จากการตรวจสอบคุณสมบัติในการฆ่า ลูกน้ำยุงพบว่า พลาสมิดลูกผสม pIVB-7042 ที่แสดงออกใน E. coli สามารถฆ่าลูกน้ำยุงเฉพาะสายพันธุ์ Aedes aegypti ได้ แต่ไม่สามารถฆ่าลูกน้ำยุงสายพันธุ์ Culex quinquefasciatus ในขณะที่พลาสมิดลูกผสม pIVB-7051 ที่แสดงออกใน E. coli ไม่สามารถออกฤทธิ์ฆ่าลูกน้ำยุงทั้งสองสายพันธุ์ดังกล่าวได้
dc.format.extentxv, 79 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Biochemistry))--Mahidol University, 1996
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99276
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectBacillus Thuringiensis
dc.subjectGenetic Engineering
dc.subjectInsecticide Resistance
dc.subjectMosquito control
dc.titleGenetically engineering an active hybrid mosquito-larvicidal toxin
dc.title.alternativeการสร้างโปรตีนสารพิษลูกผสมที่ออกฤทธิ์ฆ่าลูกน้ำยุงโดยวิธีพันธุวิศวกรรม
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/10131589.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Science
thesis.degree.disciplineBiochemistry
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files