Expectation of the people Bangkok metropolis towards the roles of the crime suppression division Police Officers
Issued Date
2002
Copyright Date
2002
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 62 leaves
ISBN
9740419526
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.A. (Criminology and Criminal Justice))--Mahidol University, 2002
Suggested Citation
Somyos Romson Expectation of the people Bangkok metropolis towards the roles of the crime suppression division Police Officers. Thesis (M.A. (Criminology and Criminal Justice))--Mahidol University, 2002. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/107355
Title
Expectation of the people Bangkok metropolis towards the roles of the crime suppression division Police Officers
Alternative Title(s)
ความคาดหวังของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ต่อบทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปราม
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objectives of the study were to obtain the expectation of the people in
Bangkok toward the roles of the police officers of the Crime Suppression Division and to obtain the factors affecting these expectations. The expectations toward the roles of performance studied were on responsibility, personality, human relations, and behavior in task performance. The subjects were 420 Bangkok residents who presented to the Metropolitan Police Stations with claims of being victims of crimes against life and property. The data were collected through questionnaires and analyzed by using SPSS for WINDOWS program. The results of the study were summarized as follows:
1. The subjects had high level of expectation toward the roles of performance of the police officers of the Crime Suppression Division in responsibility and personality. 2. The subjects had very high level of expectation toward the roles of performance of the police officers of the Crime Suppression Division in human relations and behavior in task performance. 3. The subjects who had differences in education, occupation and marital status had different expectation toward the roles of performance of the police officers of the
Crime Suppression Division. The author recommends that there should be further study of the expectation of the people in task performance of the other authorities in the Royal Thai Police to compare with this study. In addition, there should be revision of the task performance of the police authorities to satisfy the needs of the people, and the Crime Suppression Division should use the results of this study to revise the task performance of personnel to achieve the maximum satisfaction for the people.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาระดับความคาดหวังของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครต่อบทบาทของเจ้าหน้าที่คำรวจกองปราบปรามและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความคาดหวัง ความคาดหวังที่ศึกษาประกอบด้วย ความรับผิดชอบ บุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์ และพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนในกรุงเทพมหานคร จำนวน 420 คน ที่เข้าร้องทุกข์ในสถานีตำรวจนครบาล เมื่อตกเป็นเหยื่อของอาชญากรรมเกี่ยวกับชีวิตและทรัพย์สิน การศึกษานี้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรม SPSS for WINDOW ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังในระดับสูง ต่อบทบาทในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปราม ในด้านความรับผิดชอบและบุคลิกภาพ 2. กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังในระดับสูงมาก ต่อบทบาทในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปราม ในด้านมนุษยสัมพันธ์ และพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน 3. กลุ่มตัวอย่างที่มีความแตกต่างกันในด้านการศึกษา อาชีพ และสถานภาพการสมรส มีความแตกต่างกันในด้านความคาดหวังต่อบทบาทในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปราม ผู้วิจัยเสนอแนะให้มีการศึกษาความคาดหวังต่อการปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานอื่น ๆ ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อเปรียบเทียบกับการศึกษานี้ ควรมีการทบทวนแก้ไขการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานตำรวจเพื่อตอบสนองความพึงพอใจของประชาชน และกองปราบปรามควรใช้ผลการวิจัยนี้เพื่อทบทวนแก้ไขการปฏิบัติงานของบุคลากรในหน่วยงานให้สามารถตอบสนองความพึงพอใจของประชาชนให้ได้สูงสุด
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาระดับความคาดหวังของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครต่อบทบาทของเจ้าหน้าที่คำรวจกองปราบปรามและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความคาดหวัง ความคาดหวังที่ศึกษาประกอบด้วย ความรับผิดชอบ บุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์ และพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนในกรุงเทพมหานคร จำนวน 420 คน ที่เข้าร้องทุกข์ในสถานีตำรวจนครบาล เมื่อตกเป็นเหยื่อของอาชญากรรมเกี่ยวกับชีวิตและทรัพย์สิน การศึกษานี้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรม SPSS for WINDOW ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังในระดับสูง ต่อบทบาทในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปราม ในด้านความรับผิดชอบและบุคลิกภาพ 2. กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังในระดับสูงมาก ต่อบทบาทในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปราม ในด้านมนุษยสัมพันธ์ และพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน 3. กลุ่มตัวอย่างที่มีความแตกต่างกันในด้านการศึกษา อาชีพ และสถานภาพการสมรส มีความแตกต่างกันในด้านความคาดหวังต่อบทบาทในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปราม ผู้วิจัยเสนอแนะให้มีการศึกษาความคาดหวังต่อการปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานอื่น ๆ ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อเปรียบเทียบกับการศึกษานี้ ควรมีการทบทวนแก้ไขการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานตำรวจเพื่อตอบสนองความพึงพอใจของประชาชน และกองปราบปรามควรใช้ผลการวิจัยนี้เพื่อทบทวนแก้ไขการปฏิบัติงานของบุคลากรในหน่วยงานให้สามารถตอบสนองความพึงพอใจของประชาชนให้ได้สูงสุด
Description
Criminology and Criminal Justice (Mahidol University 2002)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Criminology and Criminal Justice
Degree Grantor(s)
Mahidol University