Development of an adaptive web-based learning environment based on a formative assessment approach
Issued Date
2023
Copyright Date
2016
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 123 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Science and Technology Education))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Charoenchai Wongwatkit Development of an adaptive web-based learning environment based on a formative assessment approach. Thesis (Ph.D. (Science and Technology Education))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89782
Title
Development of an adaptive web-based learning environment based on a formative assessment approach
Alternative Title(s)
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่ายที่ปรับเหมาะต่อผู้เรียนรายบุคคลด้วยวิธีการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนา
Author(s)
Abstract
A formative assessment strategy has made provisions for students in monitoring their ongoing learning status, providing feedback, and adapting the instruction to meet learning requirement. Consequently, in this study, it was applied to develop an online learning support system. Two empirical studies were conducted in this research. In the first study, a web-based learning support system was developed by following four important approaches: (1) the testing and diagnosing conceptual learning problem approach for providing remedial learning paths; (2) the learning style identification approach for suggesting appropriate layout of learning material; (3) the formative assessment-based approach for monitoring learning progression and adapting learning activities; and (4) the guided inquiry-based learning approach for fostering knowledge construction. The value of the first study revealed improvement in the students' learning achievement and learning attitudes. Moreover, the second study was conducted to investigate the factors affecting students' learning performance on the proposed system. Corresponding conceptual model, thus, was developed and validated to test the hypotheses in the structural model. Research findings on these two studies offered a valuable contribution to enhance the development of an online adaptive learning environment for e-learning researchers and teachers.
จากประโยชน์ของวิธีการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาในการติดตามสถานการณ์เรียนรู้ ของผู้เรียน การนำเสนอข้อมูลย้อนกลับ และการปรับบทเรียนให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน การศึกษาวิจัยครั้งนี้ จึงได้นำ วิธีการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนา มาประยุกต์เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุน การเรียนรู้ออนไลน์ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 2 การศึกษาย่อย ในการศึกษาแรกได้ทำการ ออกแบบและพัฒนาระบบเว็บไซต์สนับสนุนการเรียนรู้ซึ่งประกอบด้วย 4 องค์ประกอบสำคัญคือ (1) การทดสอบและวินิจฉัยปัญหาการเรียนรู้เชิงมโนมติ (2) การตรวจสอบและระบุลักษณะการเรียนรู้เพื่อ แนะนำประเภทของสื่อการเรียนรู้ (3) การติดตามความก้าวหน้าทางการเรียนรู้และปรับกิจกรรมการ เรียนรู้ให้เหมาะสมผ่านวิธีการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนา และ (4) กิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ผลการศึกษาในการศึกษาแรกพบว่าผูเ้ รียนมีผลการเรียนรู้และทัศนคติ การเรียนรู้ที่ดีขึ้น ในการศึกษาต่อมาจึงเป็นการตรวจสอบปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ผ่านระบบที่ ผู้วิจัย ไดพั้ฒนาขึ้น ดังนั้นแบบจำลองเชิงมโนมติจึงถูกพัฒนาขึ้นและถูกตรวจสอบความถูกต้องเพื่อนำไปใช้ ในการทดสอบสมมติฐานหาอิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ผลการ ศึกษาวิจัยทั้งสองการศึกษาย่อยนี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการยกระดับการพัฒนาสิ่งแวดล้อมการ เรียนรู้แบบปรับเหมาะออนไลน์ ตลอดจนสามารถนำไปเป็นแนวทางในการประยุกต์เพื่อยกระดับ การศึกษาต่อไปในอนาคต
จากประโยชน์ของวิธีการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาในการติดตามสถานการณ์เรียนรู้ ของผู้เรียน การนำเสนอข้อมูลย้อนกลับ และการปรับบทเรียนให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน การศึกษาวิจัยครั้งนี้ จึงได้นำ วิธีการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนา มาประยุกต์เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุน การเรียนรู้ออนไลน์ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 2 การศึกษาย่อย ในการศึกษาแรกได้ทำการ ออกแบบและพัฒนาระบบเว็บไซต์สนับสนุนการเรียนรู้ซึ่งประกอบด้วย 4 องค์ประกอบสำคัญคือ (1) การทดสอบและวินิจฉัยปัญหาการเรียนรู้เชิงมโนมติ (2) การตรวจสอบและระบุลักษณะการเรียนรู้เพื่อ แนะนำประเภทของสื่อการเรียนรู้ (3) การติดตามความก้าวหน้าทางการเรียนรู้และปรับกิจกรรมการ เรียนรู้ให้เหมาะสมผ่านวิธีการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนา และ (4) กิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ผลการศึกษาในการศึกษาแรกพบว่าผูเ้ รียนมีผลการเรียนรู้และทัศนคติ การเรียนรู้ที่ดีขึ้น ในการศึกษาต่อมาจึงเป็นการตรวจสอบปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ผ่านระบบที่ ผู้วิจัย ไดพั้ฒนาขึ้น ดังนั้นแบบจำลองเชิงมโนมติจึงถูกพัฒนาขึ้นและถูกตรวจสอบความถูกต้องเพื่อนำไปใช้ ในการทดสอบสมมติฐานหาอิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ผลการ ศึกษาวิจัยทั้งสองการศึกษาย่อยนี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการยกระดับการพัฒนาสิ่งแวดล้อมการ เรียนรู้แบบปรับเหมาะออนไลน์ ตลอดจนสามารถนำไปเป็นแนวทางในการประยุกต์เพื่อยกระดับ การศึกษาต่อไปในอนาคต
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Institute for Innovative Learning
Degree Discipline
Science and Technology Education
Degree Grantor(s)
Mahidol University