Application of Analytical Hierarchy Process (APH) for machine replacement decision making in Government Pharmaceutical Organization (GPO)
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 65 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Eng. (Industrial Engineering))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Suwit Vichitsawangwong Application of Analytical Hierarchy Process (APH) for machine replacement decision making in Government Pharmaceutical Organization (GPO). Thematic Paper (M.Eng. (Industrial Engineering))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92199
Title
Application of Analytical Hierarchy Process (APH) for machine replacement decision making in Government Pharmaceutical Organization (GPO)
Alternative Title(s)
การประยุกต์ใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ในการตัดสินใจเปลี่ยนทดแทนเครื่องจักรในองค์การเภสัชกรรม
Author(s)
Abstract
The objective of this research was to prioritize decision making criteria for machine replacement in Government Pharmaceutical Organization (GPO). This study applied the Analytical Hierarchy Process (AHP) to facilitate machine prioritization of machine replacement criteria which consisted of three main categories including maintenance, equipment effectiveness, and cost with a total of 9 sub-criteria. The objective, criteria, and alternatives were firstly defined to set the hierarchy of the machine replacement analysis. Then the questionnaire was designed to collect pairwise comparison from the experts to determine weighted score. After that, the performance score for each criterion was calculated, and criteria ranking was made for machine replacement decision. Results showed that accumulated maintenance cost was the first ranked criterion which has the highest weighted score followed by availability and quality which ranked the second and the third, respectively. The result implies that drug manufacturing in GPO focuses on the quality and availability of production. Moreover, the machines should be replaced when the accumulated breakdown cost is nearly or equal to the first cost of the particular machine.
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการจัดลำดับความสำคัญของเกณฑ์การตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนทดแทนเครื่องจักรในองค์การเภสัชกรรม โดยการประยุกต์ใช้กระบวนการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ในการช่วยจัดลำดับความสำคัญโดยมีการตั้งเกณฑ์หลักไว้ 3 เกณฑ์ ได้แก่ การบำรุงรักษาเครื่องจักร, ประสิทธิผลของเครื่องจักรและค่าใช้จ่าย โดยแต่ละเกณฑ์หลักมีเกณฑ์ย่อยรวมทั้งสิ้น 9 เกณฑ์ย่อย สำหรับขั้นตอนการวิจัย เริ่มจากการกำหนดลำดับชั้นของการวิเคราะห์ซึ่งประกอบด้วย วัตถุประสงค์, เกณฑ์หลัก, เกณฑ์รอง และทางเลือก จากนั้นทำการสร้างแบบสอบถามเพื่อทำการเปรียบเทียบคู่ระหว่างปัจจัย จากนั้นทำการคานวณค่าน้าหนักที่ได้จากการกรอกแบบสอบถามเพื่อทำการจัดลำดับความสำคัญตามลำดับคะแนน จากผลการวิจัย พบว่า เกณฑ์ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาเครื่องจักรซึ่งมีคะแนนสูงสุด ได้รับการจัดอันดับให้มีความสำคัญเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือค่า availability และ quality จากการทำงานของเครื่องจักรตามลำดับ ผลจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่าในบริบทการทำงานขององค์การเภสัชกรรมมุ่งเน้นในการผลิตยาที่มีคุณภาพ ทำการผลิตยาตามแผนการเดินเครื่องจักรที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง และจะตัดสินใจเปลี่ยนทดแทนเครื่องจักรเมื่อเครื่องจักรมีค่าใช้จ่ายบำรุงรักษาสะสมใกล้เคียงหรือเทียบเท่าค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องจักรมาในครั้งแรก
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการจัดลำดับความสำคัญของเกณฑ์การตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนทดแทนเครื่องจักรในองค์การเภสัชกรรม โดยการประยุกต์ใช้กระบวนการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ในการช่วยจัดลำดับความสำคัญโดยมีการตั้งเกณฑ์หลักไว้ 3 เกณฑ์ ได้แก่ การบำรุงรักษาเครื่องจักร, ประสิทธิผลของเครื่องจักรและค่าใช้จ่าย โดยแต่ละเกณฑ์หลักมีเกณฑ์ย่อยรวมทั้งสิ้น 9 เกณฑ์ย่อย สำหรับขั้นตอนการวิจัย เริ่มจากการกำหนดลำดับชั้นของการวิเคราะห์ซึ่งประกอบด้วย วัตถุประสงค์, เกณฑ์หลัก, เกณฑ์รอง และทางเลือก จากนั้นทำการสร้างแบบสอบถามเพื่อทำการเปรียบเทียบคู่ระหว่างปัจจัย จากนั้นทำการคานวณค่าน้าหนักที่ได้จากการกรอกแบบสอบถามเพื่อทำการจัดลำดับความสำคัญตามลำดับคะแนน จากผลการวิจัย พบว่า เกณฑ์ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาเครื่องจักรซึ่งมีคะแนนสูงสุด ได้รับการจัดอันดับให้มีความสำคัญเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือค่า availability และ quality จากการทำงานของเครื่องจักรตามลำดับ ผลจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่าในบริบทการทำงานขององค์การเภสัชกรรมมุ่งเน้นในการผลิตยาที่มีคุณภาพ ทำการผลิตยาตามแผนการเดินเครื่องจักรที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง และจะตัดสินใจเปลี่ยนทดแทนเครื่องจักรเมื่อเครื่องจักรมีค่าใช้จ่ายบำรุงรักษาสะสมใกล้เคียงหรือเทียบเท่าค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องจักรมาในครั้งแรก
Description
Industrial Engineering (Mahidol University 2019)
Degree Name
Master of Engineering
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Industrial Engineering
Degree Grantor(s)
Mahidol University