Staining of brain slices prior to plastination

dc.contributor.advisorBoonsirm Withyachumnarnkul
dc.contributor.advisorReon Somana
dc.contributor.advisorSanjai Sangvichien
dc.contributor.authorLalita Suriyaprapadilok
dc.date.accessioned2024-07-05T02:25:01Z
dc.date.available2024-07-05T02:25:01Z
dc.date.copyright1996
dc.date.created1996
dc.date.issued2024
dc.descriptionAnatomy (Mahidol University 1996)
dc.description.abstractHuman brain slices were stained before being plastinated. Five methods of macroscopic staining were compared: 1) Mulligans method 2) Le Masuriers method 3) Roberts method 4) Braaks method and 5) Alstons method. After staining with the five methods, the grey matter was grey-black, brilliance-blue, light brown, bluish-green and brick-red, respectively. Due to the oxidation reaction of the performic acid, sections stained by Braaks method suffered shrinkage by 2%, while other methods revealed less than 1%. After plastination, the shrinkage of stained sections by all the methods was less than 10% and showed no difference among methods. It was found that chemicals used in the staining process did not affect the quality of plastination. Judging by economic cost, time used and the contrast between the grey and white matters contrastion, Alstons method was the best among the five methods for macroscopic staining of serial brain sections prior to plastination.
dc.description.abstractจากการศึกษาการย้อมมีแผ่นสมองขนาดความหนา 4 มิลลิเมตร แล้วตามด้วยกรรมวิธีการกำซาบด้วยสารพลาสติก นั้น ได้มีการเปรียบเทียบวิธีการย้อมสีทั้งหมด 5 วิธี คือ 1) วิธีการของ Mulligan 2) วิธีการของ Le Masurier 3) วิธีการของ robert 4) วิธีการของ Braak 5) วิธีการของ Alston โดยทุกวิธีเป็นการย้อมสีบนเนื้อเยื่อสีเทาและ นิวเคลียสต่าง ๆ ทำให้เกิดสีเทาดำ สีน้ำเงินเข้ม สีน้ำตาลอ่อน สีเขียวไข่กา และสีแดงอิฐตามลำดับ บนเนื้อเยื่อสีเทาเกือบ ทุกวิธีภายหลังการย้อมสี จะมีการหดตัวของแผ่นสมองน้อย กว่า 1 เปอร์เซ็นต์ ยกเว้นวิธีของ Braak เท่านั้นที่ทำให้ เกิดการหดตัวถึง 2 เปอร์เซ็นต์ การหดตัวที่มากกว่าวิธี อื่นอาจเกิดขึ้นเพราะว่าวิธีการย้อมวิธีนี้จะต้องมีการ อ๊อกซิไดส์แผ่นสมองด้วยกรดเปอร์ฟอร์มิกเข้มข้น และเมื่อ นำแผ่นสมองที่ได้รับการย้อมสีแล้วไปผ่านกระบวนการกำซาบ การหดตัวของแผ่นสมองจะน้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไม่ แตกต่างจากแผ่นสมองที่ไม่ได้ผ่านการย้อมสี สรุปได้ว่า สารเคมีที่ใช้ในการย้อมสีดังกล่าวข้างต้นทั้ง 5 วิธี ไม่ได้เป็นตัวขัดขวางกระบวนการกำซาบด้วยสารพลาสติก อัตราการหดตัวของแผ่นสมอง ที่ย้อมสีแล้วผ่านกระบวนการ กำซาบนั้น จะขึ้นอยู่กับขั้นตอนการกำซาบด้วยสารพลาสติก มากที่สุด จากการศึกษาครั้งนี้พบว่าวิธีการของ Alston เป็นวิธีที่เหมาะสมกับการย้อมสีสมอง เพราะเป็นวิธีที่ สะดวกรวดเร็ว ค่าใช้จ่ายน้อยและการแบ่งแยกระหว่าง เนื้อเยื่อทั้งสองเป็นไปอย่างชัดเจน
dc.format.extentviii, 41 leaves : ill. (some col.)
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 1996
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99305
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectPlastic embedding
dc.subjectStaining and Labeling -- Methods
dc.titleStaining of brain slices prior to plastination
dc.title.alternativeการย้อมชิ้นส่วนสมองที่ถูกตัดเป็นแผ่นบางเพื่อการกำซาบด้วยสารพลาสติก
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/10134104.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Science
thesis.degree.disciplineAnatomy
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files