Health status health promoting behaviors and use of mobile health application among service users in private hospitals
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 85 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Community Nurse Practitioner))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Panitta Junthongsook Health status health promoting behaviors and use of mobile health application among service users in private hospitals. Thesis (M.Sc. (Community Nurse Practitioner))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93253
Title
Health status health promoting behaviors and use of mobile health application among service users in private hospitals
Alternative Title(s)
ภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลเอกชน
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This descriptive study aimed to describe 1) health status, health-promoting behaviors, and use of mobile health application among service users in private hospitals, 2) the relationship between personal factors and use of mobile health application, 3) the relationship between use of mobile health application and health-promoting behaviors, and 4) the relationship between health-promoting behaviors and health status in service users in private hospitals. Through convenience sampling with inclusion criteria, the sample included 420 service users at the wellness centers in two private hospitals. Data were collected using self-reported questionnaires and health assessment. The data were then analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, range, Chi - Square test, Fisher's exact test and Biserial Correlation. The results revealed that most of the samples had normal waist circumference (96.19 %). Their body mass index was within the normal range (37.61%) and systolic and diastolic blood pressure were appropriate (57.86% , 74.29 % respectively). The grip strength remained very low (77.38 %) and body fat was moderate (65.71 %). Most of the samples with health promoting behaviors had a habit of weighing (99.28 %), followed by a measurement of blood pressure (95.0%). Most of them used mobile health application on food (77.23 %) and the least application they sometimes used was on drug use (11.55 %). Each personal factor was not significantly correlated with use of mobile health application (p > .05). Use of mobile health application on food was significantly correlated with health promoting behaviors for nutritious food consumption (p = .006) and body fat (p = .021). Use of mobile health application on exercise was significantly correlated with health promoting behaviors for nutritious food consumption (p =.029). Moreover, use of mobile health application on basic self-care was significantly correlated with nutritious food consumption behavior (p =.024) and systolic blood pressure (p = .022). The results suggested that health team should consider using mobile health application on diet, exercise, and primary care as appropriate for service users at the wellness centers in private hospitals.
การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพ พฤติกรรม สร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลเอกชน และศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพ ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และ ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพกับภาวะสุขภาพของผู้ใช้บริการในโรงพยาบาลเอกชน ตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการที่แผนกตรวจสุขภาพของโรงพยาบาลเอกชนจำนวน 2 แห่ง จำนวน 420 ราย เลือกตัวอย่างแบบสะดวกตามเกณฑ์คัดเข้า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตัวเองและ การประเมินสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน พิสัย การทดสอบไคสแควร์ การทดสอบฟิชเชอร์และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบไบซีเรียล ผลการศึกษาพบว่าตัวอย่างส่วนใหญ่มีเส้นรอบเอวอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ร้อยละ 96.19) ดัชนีมวลกาย อยู่ในเกณฑ์ปกติ (ร้อยละ 37.61) มีระดับความดันโลหิตซิสโทลิคและไดแอสโทลิคเหมาะสม (ร้อยละ 57.86, 74.29 ตามลำดับ) แรงบีบมืออยู่ในเกณฑ์ต่ำมาก (ร้อยละ 77.38) แรงยืดเหยียดอยู่ในเกณฑ์ต่ำมาก (ร้อยละ 75.0) ไขมันสะสมในร่างกายอยู่ระดับปานกลาง ( ร้อยละ 65.71) ส่วนพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ตัวอย่างมีพฤติกรรมการชั่งน้ำหนักมากที่สุด (ร้อยละ 99.28) รองลงมาเป็นการตรวจวัดความดันโลหิต (ร้อยละ 95.0) ตัวอย่างที่มีพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพ ส่วนใหญ่ใช้ด้านอาหาร (ร้อยละ 77.23) และใช้น้อยที่สุด คือ ด้านการใช้ยา (ร้อยละ11.55 ) ส่วนความถี่ในการเข้าใช้ ส่วนใหญ่เข้าใช้เพียงบางครั้ง (ร้อยละ 28.71) ปัจจัยส่วนบุคคลในทุกๆด้านไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพ (p > .05) พฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นด้านอาหารมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ (p = .006) และไขมันสะสมในร่างกาย (p = . 021) พฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นด้านการออกกำลังกายมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ (p = .029) และ พฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นด้านการรักษา/การดูแลตนเองเบื้องต้น มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ (p =. 024) และความดันโลหิตซิสโทลิค (p = .022) ผลการศึกษามีข้อเสนอแนะสำหรับทีมสุขภาพในการพิจารณาเลือกใช้โมบายแอพพลิเคชั่นด้านอาหาร ด้านการออกกำลังกาย และด้านการรักษา/การดูแลตนเอง ในการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพของผู้ใช้บริการแผนกตรวจสุขภาพของโรงพยาบาลเอกชน
การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพ พฤติกรรม สร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลเอกชน และศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพ ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และ ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพกับภาวะสุขภาพของผู้ใช้บริการในโรงพยาบาลเอกชน ตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการที่แผนกตรวจสุขภาพของโรงพยาบาลเอกชนจำนวน 2 แห่ง จำนวน 420 ราย เลือกตัวอย่างแบบสะดวกตามเกณฑ์คัดเข้า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตัวเองและ การประเมินสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน พิสัย การทดสอบไคสแควร์ การทดสอบฟิชเชอร์และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบไบซีเรียล ผลการศึกษาพบว่าตัวอย่างส่วนใหญ่มีเส้นรอบเอวอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ร้อยละ 96.19) ดัชนีมวลกาย อยู่ในเกณฑ์ปกติ (ร้อยละ 37.61) มีระดับความดันโลหิตซิสโทลิคและไดแอสโทลิคเหมาะสม (ร้อยละ 57.86, 74.29 ตามลำดับ) แรงบีบมืออยู่ในเกณฑ์ต่ำมาก (ร้อยละ 77.38) แรงยืดเหยียดอยู่ในเกณฑ์ต่ำมาก (ร้อยละ 75.0) ไขมันสะสมในร่างกายอยู่ระดับปานกลาง ( ร้อยละ 65.71) ส่วนพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ตัวอย่างมีพฤติกรรมการชั่งน้ำหนักมากที่สุด (ร้อยละ 99.28) รองลงมาเป็นการตรวจวัดความดันโลหิต (ร้อยละ 95.0) ตัวอย่างที่มีพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพ ส่วนใหญ่ใช้ด้านอาหาร (ร้อยละ 77.23) และใช้น้อยที่สุด คือ ด้านการใช้ยา (ร้อยละ11.55 ) ส่วนความถี่ในการเข้าใช้ ส่วนใหญ่เข้าใช้เพียงบางครั้ง (ร้อยละ 28.71) ปัจจัยส่วนบุคคลในทุกๆด้านไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นประเภทสุขภาพ (p > .05) พฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นด้านอาหารมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ (p = .006) และไขมันสะสมในร่างกาย (p = . 021) พฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นด้านการออกกำลังกายมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ (p = .029) และ พฤติกรรมการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นด้านการรักษา/การดูแลตนเองเบื้องต้น มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ (p =. 024) และความดันโลหิตซิสโทลิค (p = .022) ผลการศึกษามีข้อเสนอแนะสำหรับทีมสุขภาพในการพิจารณาเลือกใช้โมบายแอพพลิเคชั่นด้านอาหาร ด้านการออกกำลังกาย และด้านการรักษา/การดูแลตนเอง ในการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพของผู้ใช้บริการแผนกตรวจสุขภาพของโรงพยาบาลเอกชน
Description
Community Nurse Practitioner (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Degree Discipline
Community Nurse Practitioner
Degree Grantor(s)
Mahidol University