ยารักษา COVID-19 และการเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา
dc.contributor.author | ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์ | |
dc.contributor.author | Supatat Chumnumwat | |
dc.date.accessioned | 2024-05-31T13:40:24Z | |
dc.date.available | 2024-05-31T13:40:24Z | |
dc.date.created | 2567-05-31 | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.description | การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ครั้งที่ 9 เรื่อง “2021 Updates on COVID-19 and Vaccination in Thailand” ณ ห้องประชุมกาญจนาภิรมย์ ชั้น G ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 31 มีนาคม 2564. หน้า 10-23 | |
dc.description.abstract | Coronavirus disease 2019 และแนวทางการรักษาด้วยยาในประเทศไทย Novel coronavirus หรือ severe acute respiratory syndrome coronavirus-2 (SARS-CoV-2) เป็น ribonucleic acid (RNA) virus ในวงศ์ betacoronavirus ที่ก่อให้เกิดโรค coronavirus disease 2019 (COVID-19) ซึ่งมีการแพร่ระบาดตั้งแต่ในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 25621 การรักษา COVID-19 ในช่วงแรกเป็นการพยายามใช้ยาต้านไวรัสที่มีอยู่เดิมหรือยากลุ่มอื่นๆ ที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาหรือกลไกการออกฤทธิ์ที่ขัดขวางกระบวนการในวงจรชีวิตของ SARS-CoV-2 เช่น chloroquine, hydroxychloroquine, azithromycin แต่ข้อมูลจากงานวิจัยหลายฉบับไม่แสดงประโยชน์ที่ชัดเจนของยาดังกล่าว ทั้งในแง่ของการลดอัตราการเสียชีวิตหรือลดความรุนแรงของโรค2 ส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของแนวเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย COVID-19 ทั่วโลก รวมถึงในประเทศไทย ที่มีการปรับปรุงแนวทางในการจัดการผู้ป่วยและยาที่แนะนาสาหรับการรักษามาอย่างต่อเนื่อง แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) โดยกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับปรับปรุง วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 25643 สาหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข มีการแนะนายา 4 ชนิดที่ใช้ในการรักษา COVID-19 ได้แก่ favipiravir, lopinavir/ritonavir (LPV/r), remdesivir และ corticosteroid (ตารางที่ 1 และ 2) และไม่แนะนาให้ใช้ chloroquine, hydroxychloroquine และ azithromycin, darunavir/ritonavir และยาต้านการอักเสบในกลุ่ม interleukin (IL)-6 receptor antagonist ในการรักษา | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98542 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | COVID-19 | |
dc.subject | แนวทางเวชปฏิบัติ | |
dc.subject | การรักษา | |
dc.subject | แพทย์ | |
dc.subject | บุคลากรสาธารณสุข | |
dc.subject | ยา | |
dc.title | ยารักษา COVID-19 และการเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา | |
dc.type | Proceeding Article | |
dcterms.accessRights | open access | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเภสัชศาสตร์ | |
oairecerif.event.name | การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ประจำปี 2564 ครั้งที่ 9 |
Files
Original bundle
1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
- Name:
- py-pc-supatat-2564.pdf
- Size:
- 327.04 KB
- Format:
- Adobe Portable Document Format