Clinical and economic outcome of pharmacist - managed care for inpatients with Warfarin at Bangkok metropolitan administration general hospital
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 133 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Pharmacy))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Panupak Yiboonchaicheep Clinical and economic outcome of pharmacist - managed care for inpatients with Warfarin at Bangkok metropolitan administration general hospital. Thesis (M.Sc. (Clinical Pharmacy))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91812
Title
Clinical and economic outcome of pharmacist - managed care for inpatients with Warfarin at Bangkok metropolitan administration general hospital
Alternative Title(s)
ผลลัพธ์ทางคลินิกและเศรษฐศาสตร์ของการให้การบริการดูแลผู้ป่วยในที่ได้รับยาวาร์ฟารินโดยเภสัชกร ณ โรงพยาบาลกลาง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This study was a quasi-experimental study aimed to evaluate clinical and economic outcomes of pharmacist - managed care for inpatients with warfarin. Patients were monitored by a clinical pharmacist who recommended warfarin dose, screened and managed drug therapeutic problems related to warfarin therapy, suggested monitoring plan and provided patient education. Clinical outcome was anticoagulation control expressed as percentage of International Normalized Ratio (INR) in target at 1st followed-up visit, and economic outcome was total cost of complications from warfarin therapy. Results of study group were compared to historical control using appropriate statistical analysis. A total of 92 patients was included (49 cases in control group and 43 patients in study group). Baseline data were not significantly different between two groups. At the end of the study, the percentage of patients with INR in target in the study group was more than those in the control group (60.47% vs. 30.61%, p = 0.015). In control group, 1 patient had bleeding during admission and 4 patients readmitted due to adverse effect of supratherapeutic warfarin level which costed 30,167.70 baht (6,033.54±1,920.00 baht / patient). On the contrary, there was no adverse event found in the study group. After providing pharmacist - managed care, 33 problems were detected. It was shown that inappropriate dose of 27 cases (81.82%) were found the most and physician acceptance to pharmacist's intervention was 71.58%. The results of this study suggest that coordination with the clinical pharmacist and the physician improved the quality of treatment among patients receiving warfarin and reduced complications and the cost of warfarin use
การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองที่ทำในโรงพยาบาลกลาง เพื่อประเมินผลลัพธ์ทางคลินิก และทางเศรษฐศาสตร์ของการให้การบริการดูแลผู้ป่วยในที่ได้รับยาวาร์ฟารินโดยเภสัชกร ผู้ป่วยจะได้รับการติดตามโดยเภสัชกรคลินิก ซึ่งจะให้คำแนะนำในการปรับขนาดยา ค้นหาและจัดการปัญหาจากการใช้ยา ให้คำแนะนำในการติดตามผลการรักษาแก่แพทย์และให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ผลลัพธ์ทางคลินิกคือ การควบคุมการแข็งตัวของเลือดซึ่งแสดงโดยร้อยละของผู้ป่วยที่มีระดับ INR อยู่ในเป้าหมาย ผลลัพธ์ทางเศรษฐศาสตร์ คือ ต้นทุนรวมของภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาด้วยยาวาร์ฟาริน ผลลัพธ์ของกลุ่มทดลองจะนำไปเปรียบเทียบกับข้อมูลจากกลุ่มควบคุมในอดีตโดยใช้วิธีวิเคราะห์ทางสถิติอย่างเหมาะสม ผู้ป่วยทั้งหมด 92 รายเป็นกลุ่มควบคุม 49 รายและกลุ่มทดลอง 43 รายมีข้อมูลพื้นฐานไม่แตกต่างกัน เมื่อสิ้นสุดการวิจัย พบว่ากลุ่มทดลองมีผู้ป่วยที่มีระดับ INR อยู่ในเป้าหมายมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ร้อยละ 60.47 และ 30.61, p = 0.015 ) ในกลุ่มควบคุมพบภาวะเลือดออกขณะผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาล 1 ราย และมีผู้ป่วยต้องเข้ารับการรักษาซ้ำ เนื่องจากเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากระดับยาวาร์ฟารินสูง 4 ราย ในกลุ่มศึกษา ไม่พบเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ต้นทุนรวมของภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มควบคุมเท่ากับ 30,167.70 บาท (6,033.54±1,920.00 บาทต่อราย) ในกลุ่มทดลองพบปัญหาการใช้ยา 31 ปัญหาพบมากที่สุด คือ ขนาดยาที่ได้ไม่เหมาะสม 27 ปัญหา (ร้อยละ 81.82) และ แพทย์ยอมรับคาแนะนำ ร้อยละ 71.58 ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าการมีเภสัชกรคลินิกร่วมกับแพทย์ในผู้ป่วยที่ได้รับยาวาร์ฟารินช่วยปรับปรุงคุณภาพการรักษาลดภาวะแทรกซ้อนและต้นทุนของภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยาวาร์ฟาริน
การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองที่ทำในโรงพยาบาลกลาง เพื่อประเมินผลลัพธ์ทางคลินิก และทางเศรษฐศาสตร์ของการให้การบริการดูแลผู้ป่วยในที่ได้รับยาวาร์ฟารินโดยเภสัชกร ผู้ป่วยจะได้รับการติดตามโดยเภสัชกรคลินิก ซึ่งจะให้คำแนะนำในการปรับขนาดยา ค้นหาและจัดการปัญหาจากการใช้ยา ให้คำแนะนำในการติดตามผลการรักษาแก่แพทย์และให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ผลลัพธ์ทางคลินิกคือ การควบคุมการแข็งตัวของเลือดซึ่งแสดงโดยร้อยละของผู้ป่วยที่มีระดับ INR อยู่ในเป้าหมาย ผลลัพธ์ทางเศรษฐศาสตร์ คือ ต้นทุนรวมของภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาด้วยยาวาร์ฟาริน ผลลัพธ์ของกลุ่มทดลองจะนำไปเปรียบเทียบกับข้อมูลจากกลุ่มควบคุมในอดีตโดยใช้วิธีวิเคราะห์ทางสถิติอย่างเหมาะสม ผู้ป่วยทั้งหมด 92 รายเป็นกลุ่มควบคุม 49 รายและกลุ่มทดลอง 43 รายมีข้อมูลพื้นฐานไม่แตกต่างกัน เมื่อสิ้นสุดการวิจัย พบว่ากลุ่มทดลองมีผู้ป่วยที่มีระดับ INR อยู่ในเป้าหมายมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ร้อยละ 60.47 และ 30.61, p = 0.015 ) ในกลุ่มควบคุมพบภาวะเลือดออกขณะผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาล 1 ราย และมีผู้ป่วยต้องเข้ารับการรักษาซ้ำ เนื่องจากเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากระดับยาวาร์ฟารินสูง 4 ราย ในกลุ่มศึกษา ไม่พบเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ต้นทุนรวมของภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มควบคุมเท่ากับ 30,167.70 บาท (6,033.54±1,920.00 บาทต่อราย) ในกลุ่มทดลองพบปัญหาการใช้ยา 31 ปัญหาพบมากที่สุด คือ ขนาดยาที่ได้ไม่เหมาะสม 27 ปัญหา (ร้อยละ 81.82) และ แพทย์ยอมรับคาแนะนำ ร้อยละ 71.58 ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าการมีเภสัชกรคลินิกร่วมกับแพทย์ในผู้ป่วยที่ได้รับยาวาร์ฟารินช่วยปรับปรุงคุณภาพการรักษาลดภาวะแทรกซ้อนและต้นทุนของภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยาวาร์ฟาริน
Description
Clinical Pharmacy (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Pharmacy
Degree Discipline
Clinical Pharmacy
Degree Grantor(s)
Mahidol University