Using avoid-shift-improve approach to evaluate the 12-year development plan (2009 - 2020) for Bangkok's sustainable transportation goals
Issued Date
2024
Copyright Date
2020
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 120 leaves: ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.A. (Environmental Social Sciences))--Mahidol University, 2020
Suggested Citation
Napisa Wisuttipun Using avoid-shift-improve approach to evaluate the 12-year development plan (2009 - 2020) for Bangkok's sustainable transportation goals. Thesis (M.A. (Environmental Social Sciences))--Mahidol University, 2020. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99420
Title
Using avoid-shift-improve approach to evaluate the 12-year development plan (2009 - 2020) for Bangkok's sustainable transportation goals
Alternative Title(s)
การใช้มาตรการ ลด-เปลี่ยน-ปรับปรุง ในการประเมินผลเพื่อบรรลุเป้าหมายระบบขนส่งอย่างยั่งยืนของแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 12 ปี (พ.ศ. 2552-2563)
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This research aimed to evaluate the 12-year development plan for Bangkok Metropolis (2009 - 2020) and to propose recommendations for improving sustainable transportation. The qualitative research method was employed. A total of 15 key informants from public, private, and academic sectors were interviewed. The Avoid - Shift and Improve (ASI) approach was used as a framework to analyse the plan. The results found the remaining gaps between theory and practice. The study showed: 1. Avoid increasing transportation activity and reduce travel demand (A): Decentralisation, jobs-housing planning, and Transit-Oriented Development were not integrated. The existing technologies were not used to manage transportation. Thus, this activity and travel demand was ineffective. 2. Shifting travel (S): Bangkok Metropolitan Administration has developed various public transport systems, but the demand and supply of transport services were imbalanced. The ticket price was high. The distance between nodes was disconnected. Thus, the shift to public transportation was unsuccessful. 3. Improving existing forms of transport (I): Bangkok Metropolitan Administration has promoted electric vehicles, but the tax cut policy did not attract the buyers. Thus, improving existing forms of transport was ineffective. Six recommendations were drawn from this study 1) encouragement of mixed land use, 2) increase accessibility and connectivity of mass transit system, 3) integrated ticketing with fare reduction program, 4) bus service quality improvement, 5) tax cut policy for electric cars, and 6) paradigm shift for public transportation after COVID-19 pandemic.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 12 ปี (พ.ศ.2552 - 2563) และเพื่อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงแผนสู่การเป็นระบบขนส่งสาธารณะอย่างยั่งยืน ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 15 คน จากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาควิชาการ ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า ในเนื้อหาของแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 12 ปี มีการกล่าวถึงมาตรการด้านการขนส่งอย่างยั่งยืน คือ ลด เปลี่ยน และ ปรับปรุง (Avoid, Shift, and Improve) แต่ในทางปฏิบัติพบว่าภาคการขนส่งยังต้องมีการพัฒนาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการเป็นระบบขนส่งอย่างยังยืน ดังนี้ 1. ลด (Avoid) เพื่อลดการเดินทางที่ไม่จำเป็น: ในทางปฏิบัติยังไม่สามารถลดการเดินทางได้ เนื่องจากขาดการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นแหล่งอยู่อาศัยหนาแน่นสูงที่สร้างกิจกรรมที่หลากหลายในพื้นรอบสถานีขนส่งมวลชนเพื่อลดการเดินทางหรือระยะทางการเดินทาง 2. เปลี่ยน (Shift) รูปแบบการเดินทาง: กรุงเทพมหานครพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางรางเป็นหลักและส่งเสริมระบบรอง (feeder) แต่ยังขาดประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงระบบขนส่งต่างๆ การเดินทางยังมีราคาสูง จึงไม่สามารถจูงใจให้ประชาชนเปลี่ยนมาใช้ระบบขนส่งสาธารณะ 3. พัฒนา (Improve) รูปแบบการเดินทางด้วยพลังงานทางเลือก: กรุงเทพมหานครสนับสนุนให้มีการใช้รถยนต์พลังงานทางเลือกโดยการลดภาษี แต่ยังไม่มากพอที่จะจูงใจให้ประชาชนหันมาใช้รถพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม งานวิจัยนี้เสนอแนะให้ 1) ส่งเสริมการพัฒนาแบบผสมผสาน (Mixed-use) 2) เพิ่มจำนวนและเชื่อมโยงระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ 3) บูรณาการระบบตั๋วเดินทางและลดค่าเดินทาง 4) ปรับปรุงคุณภาพรถสาธารณะ และ 5) ปรับปรุงโครงสร้างภาษีรถยนต์ไฟฟ้า และ 6) แนวทางการใช้ระบบขนส่งมวลชนสาธารณะหลังการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 12 ปี (พ.ศ.2552 - 2563) และเพื่อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงแผนสู่การเป็นระบบขนส่งสาธารณะอย่างยั่งยืน ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 15 คน จากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาควิชาการ ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า ในเนื้อหาของแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 12 ปี มีการกล่าวถึงมาตรการด้านการขนส่งอย่างยั่งยืน คือ ลด เปลี่ยน และ ปรับปรุง (Avoid, Shift, and Improve) แต่ในทางปฏิบัติพบว่าภาคการขนส่งยังต้องมีการพัฒนาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการเป็นระบบขนส่งอย่างยังยืน ดังนี้ 1. ลด (Avoid) เพื่อลดการเดินทางที่ไม่จำเป็น: ในทางปฏิบัติยังไม่สามารถลดการเดินทางได้ เนื่องจากขาดการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นแหล่งอยู่อาศัยหนาแน่นสูงที่สร้างกิจกรรมที่หลากหลายในพื้นรอบสถานีขนส่งมวลชนเพื่อลดการเดินทางหรือระยะทางการเดินทาง 2. เปลี่ยน (Shift) รูปแบบการเดินทาง: กรุงเทพมหานครพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางรางเป็นหลักและส่งเสริมระบบรอง (feeder) แต่ยังขาดประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงระบบขนส่งต่างๆ การเดินทางยังมีราคาสูง จึงไม่สามารถจูงใจให้ประชาชนเปลี่ยนมาใช้ระบบขนส่งสาธารณะ 3. พัฒนา (Improve) รูปแบบการเดินทางด้วยพลังงานทางเลือก: กรุงเทพมหานครสนับสนุนให้มีการใช้รถยนต์พลังงานทางเลือกโดยการลดภาษี แต่ยังไม่มากพอที่จะจูงใจให้ประชาชนหันมาใช้รถพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม งานวิจัยนี้เสนอแนะให้ 1) ส่งเสริมการพัฒนาแบบผสมผสาน (Mixed-use) 2) เพิ่มจำนวนและเชื่อมโยงระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ 3) บูรณาการระบบตั๋วเดินทางและลดค่าเดินทาง 4) ปรับปรุงคุณภาพรถสาธารณะ และ 5) ปรับปรุงโครงสร้างภาษีรถยนต์ไฟฟ้า และ 6) แนวทางการใช้ระบบขนส่งมวลชนสาธารณะหลังการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
Description
Environmental Social Sciences (Mahidol University 2020)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Social sciences and Humanities
Degree Discipline
Environmental Social Sciences
Degree Grantor(s)
Mahidol University