การส่งเสริมและสนับสนุนของครูเพื่อให้นักเรียนวัยรุ่นตอนต้นเรียนเปียโนอย่างต่อเนื่อง

dc.contributor.advisorปรีญานันท์ พร้อมสุขกุล
dc.contributor.advisorอนรรฆ จรัณยานนท์
dc.contributor.authorศศิรักษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์
dc.date.accessioned2024-01-15T04:07:41Z
dc.date.available2024-01-15T04:07:41Z
dc.date.copyright2559
dc.date.created2567
dc.date.issued2559
dc.descriptionดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
dc.description.abstractงานวิจัยในครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพรูปแบบการศึกษาเฉพาะกรณี มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นก่อนที่จะนำไปสู่การเลิกเรียน ศึกษาถึงสาเหตุของการเลิกเรียนเปียโนของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้น และศึกษาวิธีการในการส่งเสริมและสนับสนุนของครูเพื่อให้นักเรียนวัยรุ่นตอนต้นเรียนเปียโนอย่างต่อเนื่องโดยการสัมภาษณ์ครูเปียโนทั้งหมด 10 ท่าน ผลการวิจัยพบว่านักเรียนที่เลิกเรียนเปียโนไปนั้นมีพฤติกรรมดังนี้ คือ มีความตั้งใจในการเรียนลดลงและไม่มีสมาธิในระหว่างเรียน การตอบสนองต่อคาสั่งของครูลดลง มีเวลาในการซ้อมลดลง ลาหยุดและขาดเรียนบ่อย โดยสาเหตุหลักของการเลิกเรียน คือ นักเรียนต้องเรียนพิเศษเพื่อเตรียมตัวสอบในระดับมัธยมหรือมหาวิทยาลัย มีความสนใจในการเรียนลดลง ไม่ชอบการซ้อม และ ผู้ปกครองไม่ให้ความสนใจและสนับสนุนต่อการเรียน ซึ่งครูได้ใช้วิธีการส่งเสริมและสนับสนุนโดยการตั้งเป้าหมายในการเรียนการสอนร่วมกับนักเรียน ทางานร่วมกันกับผู้ปกครอง ใช้สื่อการสอนประเภทต่างๆ ใช้บทเพลงนอกบทเรียนในการสอน สอนให้นักเรียนซ้อมอย่างมีประสิทธิภาพบุคลิกภาพของครูเปียโน การชมการแสดงดนตรี การสอบเกรด การแสดงคอนเสิร์ต การประกวดแข่งขัน การจัดสตูดิโอคลาสและการจัดกิจกรรมค่ายดนตรี
dc.description.abstractThis qualitative case study aimed to study young adolescent student behaviors that lead to dropping piano lessons, the causes for dropping piano lessons, and how teachers could encourage and support young adolescent students to continue with their piano lessons. After interviewing 10 piano teachers, results showed that the students who gave up piano lessons had the following behaviors less determination and concentration during the lesson, less response toward the teacherโ€ s instruction, lack of practicing time, truancy and absenteeism. The primary reasons for dropping the lessons were the extra tuition for senior school or university enrollment exam, less interest in the lesson, not enjoying practicing and, parentsโ€ lack of interest and support for the student in taking piano lessons. Thus, it was recommended that teachers should encourage and support their students by bilaterally setting learning objectives, coordinating with parents, using various teaching media, using extra curriculum pieces in the lesson, teach student how to practice efficiently, the piano teacher adjusting character, attending music concerts, taking grade exam, performing in concerts, signing up for competition, setting up a studio class and participating in music camps.
dc.format.extentก-ญ, 155 แผ่น
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92765
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectเปียโน -- การศึกษาและการสอน
dc.subjectเปียโน -- นักเรียน
dc.titleการส่งเสริมและสนับสนุนของครูเพื่อให้นักเรียนวัยรุ่นตอนต้นเรียนเปียโนอย่างต่อเนื่อง
dc.title.alternativeThe use of encouragement and support in increasing study retention rates in young adolescent piano players
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2558/509/5736947.pdf
thesis.degree.departmentวิทยาลัยดุริยางคศิลป์
thesis.degree.disciplineดนตรี
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Files