The role of dialogue workshops on empathy in medical residents
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 113 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Health Science Education))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Chitrawina Mahagita The role of dialogue workshops on empathy in medical residents. Thesis (M.Sc. (Health Science Education))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91691
Title
The role of dialogue workshops on empathy in medical residents
Alternative Title(s)
บทบาทของการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุนทรียสนทนาต่อการร่วมรู้สึกในแพทย์ประจำบ้าน
Author(s)
Abstract
Empathy in patient care is the cognitive attribute related to an understanding of experiences, concerns, and perspectives of the patient, with the capability to communicate this understanding, and an intention to help. This research studied the role of dialogue workshops on empathy in medical residents. The research questions were 1) Is the empathy level of medical residents in the dialogue group significantly different from the participants in the control group? and 2) How do the participants reflect on the dialogue workshop? Voluntary participants constituted 96 first-year medical residents of Phramongkutklao Hospital. They were randomized into control group (communication skills with counseling, n=47), and dialogue group (n=49). The instrument of empathy measurement was Jefferson Scale of Empathy (JSE), reporting total JSE and its 3 domains: perspective taking, compassionate care, and standing in the patient's shoes. Results showed no significant difference regarding sex and specialties among groups. Every baseline level of pretest JSE did not significantly differ between groups. After the workshops, the difference of the pre- and post-test scores in the dialogue group were significantly higher than control group (total JSE = 5.37, t(94) = 2.90, p = 0.005) , perspective taking = 3.01, t(94) = 2.39. p = 0.019, and compassionate care = 2.51, t(94)=2.31,p =0.023), but no significant difference for the third domain (-0.14, t(94) =-0.3 1, p - 0.759). Content analyses of 4 reflection topics also correlated to the empathy definition. First, participants had learned dialogue technique and its benefits: understanding others and themselves. Second, the major feelings during the workshop were the understanding of others and themselves. Third, the transformations were the realization of listening quality, better perspective change on others and themselves. Lastly, participants reflected applying dialogue to the patients, patients' relatives, coworkers, and close people. In conclusion, the dialogue workshop significantly enhanced empathy in medical residents.
การร่วมรู้สึกในบริบทการดูแลผู้ป่วย คือ ลักษณะทางสติปัญญาที่จะเข้าใจประสบการณ์ ความกังวล และมุมมองของผู้ป่วย โดยมีความสามารถในการสื่อสารความเข้าใจนี้และมีความตั้งใจที่จะช่วยเหลือ งานวิจัยนี้ศึกษาผลของการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุนทรียสนทนาต่อการร่วมรู้สึกในแพทย์ประจำบ้าน คำถามวิจัยมี 2 คำถาม คือ 1) ระดับการร่วมรู้สึกของแพทย์ประจำบ้านก่อนและหลังการอบรมเชิงปฏิบัติของกลุ่มสุนทรียสนทนากับกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ 2) ผู้เข้าอบรมกลุ่มสุนทรียสนทนาสะท้อน คนเองว่าอย่างไร กลุ่มอาสาสมัครที่เข้าร่ามวิจัยคือแพทย์ประบ้านชั้นปีที่ 1 ทุกสาขาของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า (96 คน) แบ่งกลุ่มแบบสุ่มเป็นกลุ่มควบคุม (ทักษะการสื่อสารเรื่องการให้คำปรึกษา = 47 คน) และกลุ่มสุนทรียสนทนา (49 คน) วัดระดับการร่วมรู้สึกด้วยแบบวัคระดับการร่วมรู้สึกเจฟเฟอร์สัน แสดงผลเป็นคะแนนรวมและคะแนนย่อย 3 หมวด คือ การเข้าใจมุมมองผู้อื่น ความเมตตากรุณา และการเปรียบตนเองในจุดเดียวกับ ผู้ป่วย ผลการศึกษาแสดงระดับการร่วมรู้สึกทั้งคะแนนรวมและย่อยทั้ง 3 หมวดก่อนเข้ารับการอบรมของกลุ่มสุนทรียสนทนาเละกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ภายหลังการอบรมพบว่ากลุ่มสุนทรียสนทนามีการเพิ่มขึ้นของระดับการร่วมรู้สึกสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งคะแนนรวม ( = 5.37, t(94)-2.90, P = 0.005) คะแนนย่อยหมวดการเข้าใจมุมมองผู้อื่น (3.01, t(94) = 2.39, p = 0.019) และ หมวดความเมตตากรุณา (2.51, t(94) = 2.31, p = 0.023) ยกเว้นหมวดการเปรียบตนเองในจุดเดียวกับผู้ป่วย (-0.14, t(94) = - 0.31, p = 0.759) ผลการวิเคราะห์เนื้อหาของการเขียนสะท้อน 4 หัวข้อภายหลังการอบรมเรื่องสุนทรียสนทนาสอดคล้องกับความหมายของการร่วมรู้สึก 1) อาสาสมัครได้เรียนรู้หลักการและประโยชน์ของสุนทรียสนทนา โดยเฉพาะ ประโยชน์ในการเข้าใจผู้อื่นและตนเอง 2) ความรู้สึกที่เด่นชัดระหว่างการอบรม คือ การเข้าใจผู้อื่น และการเข้าใจตนเอง 3) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายหลังการอบรม คือ การตระหนักถึงคุณภาพการฟังของตนเอง มุมมองที่ดีขึ้นต่อผู้อื่นและตนเอง 4) อาสาสมัตรตั้งใจนำสุนทรียสนทนาไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย เพื่อนร่วมงาน และบุคคลใกล้ชิด โดยสรุปการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุนทรียสนทนาสามารถเพิ่มระดับการร่วมรู้สึกในแพทย์ประจำบ้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การร่วมรู้สึกในบริบทการดูแลผู้ป่วย คือ ลักษณะทางสติปัญญาที่จะเข้าใจประสบการณ์ ความกังวล และมุมมองของผู้ป่วย โดยมีความสามารถในการสื่อสารความเข้าใจนี้และมีความตั้งใจที่จะช่วยเหลือ งานวิจัยนี้ศึกษาผลของการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุนทรียสนทนาต่อการร่วมรู้สึกในแพทย์ประจำบ้าน คำถามวิจัยมี 2 คำถาม คือ 1) ระดับการร่วมรู้สึกของแพทย์ประจำบ้านก่อนและหลังการอบรมเชิงปฏิบัติของกลุ่มสุนทรียสนทนากับกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ 2) ผู้เข้าอบรมกลุ่มสุนทรียสนทนาสะท้อน คนเองว่าอย่างไร กลุ่มอาสาสมัครที่เข้าร่ามวิจัยคือแพทย์ประบ้านชั้นปีที่ 1 ทุกสาขาของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า (96 คน) แบ่งกลุ่มแบบสุ่มเป็นกลุ่มควบคุม (ทักษะการสื่อสารเรื่องการให้คำปรึกษา = 47 คน) และกลุ่มสุนทรียสนทนา (49 คน) วัดระดับการร่วมรู้สึกด้วยแบบวัคระดับการร่วมรู้สึกเจฟเฟอร์สัน แสดงผลเป็นคะแนนรวมและคะแนนย่อย 3 หมวด คือ การเข้าใจมุมมองผู้อื่น ความเมตตากรุณา และการเปรียบตนเองในจุดเดียวกับ ผู้ป่วย ผลการศึกษาแสดงระดับการร่วมรู้สึกทั้งคะแนนรวมและย่อยทั้ง 3 หมวดก่อนเข้ารับการอบรมของกลุ่มสุนทรียสนทนาเละกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ภายหลังการอบรมพบว่ากลุ่มสุนทรียสนทนามีการเพิ่มขึ้นของระดับการร่วมรู้สึกสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งคะแนนรวม ( = 5.37, t(94)-2.90, P = 0.005) คะแนนย่อยหมวดการเข้าใจมุมมองผู้อื่น (3.01, t(94) = 2.39, p = 0.019) และ หมวดความเมตตากรุณา (2.51, t(94) = 2.31, p = 0.023) ยกเว้นหมวดการเปรียบตนเองในจุดเดียวกับผู้ป่วย (-0.14, t(94) = - 0.31, p = 0.759) ผลการวิเคราะห์เนื้อหาของการเขียนสะท้อน 4 หัวข้อภายหลังการอบรมเรื่องสุนทรียสนทนาสอดคล้องกับความหมายของการร่วมรู้สึก 1) อาสาสมัครได้เรียนรู้หลักการและประโยชน์ของสุนทรียสนทนา โดยเฉพาะ ประโยชน์ในการเข้าใจผู้อื่นและตนเอง 2) ความรู้สึกที่เด่นชัดระหว่างการอบรม คือ การเข้าใจผู้อื่น และการเข้าใจตนเอง 3) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายหลังการอบรม คือ การตระหนักถึงคุณภาพการฟังของตนเอง มุมมองที่ดีขึ้นต่อผู้อื่นและตนเอง 4) อาสาสมัตรตั้งใจนำสุนทรียสนทนาไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย เพื่อนร่วมงาน และบุคคลใกล้ชิด โดยสรุปการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุนทรียสนทนาสามารถเพิ่มระดับการร่วมรู้สึกในแพทย์ประจำบ้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Description
Health Science Education (Mahidol University 2019)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Health Science Education
Degree Grantor(s)
Mahidol University