ระบบบริหารจัดการของเสียจากห้องปฏิบัติการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

dc.contributor.authorนันทวรรณ จินากุลen_US
dc.contributor.authorกาญจนา ทิมอ่ำen_US
dc.contributor.authorดวงใจ จันทร์ต้นen_US
dc.contributor.authorกวีวุฒิ กนกแก้วen_US
dc.contributor.authorสุรินทร์ อยู่ยงen_US
dc.contributor.authorประดิษฐา รัตนวิจิตร์en_US
dc.contributor.authorรักษิณีย์ ค้ามานิตย์en_US
dc.contributor.authorรัตนา นาคสง่าen_US
dc.contributor.authorวิไลวรรณ ทองใบน้อยen_US
dc.contributor.authorกฤษณะ พรมดวงศรีen_US
dc.contributor.authorอุบลวรรณ บุญเปล่งen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเภสัชศาสตร์. ภาควิชาจุลชีววิทยาen_US
dc.date.accessioned2016-01-18T08:59:05Z
dc.date.accessioned2021-03-24T02:43:36Z
dc.date.available2016-01-18T08:59:05Z
dc.date.available2021-03-24T02:43:36Z
dc.date.created2559-01-18
dc.date.issued2556
dc.descriptionการประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 5: 15-16 กรกฎาคม 2556 ณ บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิร์ล กรุงเทพฯ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล; 2556.en_US
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่นักศึกษาและผู้ช่วยวิจัยในการจัดการของเสียในห้องปฏิบัติการ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการของเสีย(waste)จากห้องปฏิบัติการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยใช้ ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) โดยดำเนินการจัดอบรมให้ ความรู้แก่นักศึกษาและผู้ช่วยวิจัย ท้าการประชาสัมพันธ์เรื่องการจัดการของเสียในรูปสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ หลังการ อบรมได้ท้าการประเมินความรู้ของผู้รับการอบรมจ้านวน 80 คน โดยใช้Scoring Rubrics เป็นเกณฑ์ในการประเมิน ผลวิจัยพบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องระบบการจัดเก็บของเสียการแยกประเภทของเสีย ฉลากเก็บประเภทของ เสีย ภาชนะจัดเก็บของเสีย จุดทิ้งของเสีย ประโยชน์ของระบบการจัดเก็บของเสีย รู้จักเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการ จัดเก็บของเสียต่างๆ ในห้องปฏิบัติการ ร้อยละ 97, 94, 87, 97, 97, 100 และ 98 ตามล้าดับ ซึ่งทั้งหมดผ่านตาม เกณฑ์ที่ก้าหนดไว้ มีการสรุปข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาการทิ้งของเสีย พบว่าปริมาณถังที่ใช้รองรับ ของเสียมีไม่เพียงพอ เนื่องจากมีการใช้ตัวท้าละลายที่หลากหลาย งานวิจัยนี้ท้าให้ผู้ใช้ห้องปฏิบัติการรู้ถึงวิธีการทิ้ง สารเคมีแต่ละประเภทและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องมีผลให้ปริมาณของเสียอันตรายลดลง ไม่มีของเสียที่ไม่รู้ประเภท ท้าให้การจัดการของเสียจากห้องปฏิบัติการเป็นระบบมากขึ้น ลดงบประมาณ ลดผลกระทบและความเสี่ยงต่อสุขภาพ ของคนในองค์กรตลอดจนสิ่งแวดล้อมได้เป็นอย่างดีen_US
dc.description.abstractThe purpose of this research was to develope the laboratory waste management and provide this knowledge to the students and the research assistants of Faculty of Pharmacy, Mahidol University by using the methodology of participatory action research (PAR). This project was performed by training course and releasing the method of waste management by different medias. After the training, the 80 participants have been assessed the knowledge using the Scoring Rubrics as a criterion for the evaluation. The result showed that the participants understood about the wastes storage systems, the wastes categories, the wastes labelling types, the wastes containers, drop points of wastes, the useful of waste storaging, the officers who responsible for the storage of waste in the laboratory, in the percentage of 97, 94, 87, 97, 97, 100 and 98, respectively which all passed the specified criteria. The summary of comments and suggestions were that the containers to collect the waste were not enough due to there were many varieties of solvents. This research enables the users to know how to dispose the wastes by differentiating the chemicals types and perform accurately, which leading to the reduction of the amount of hazardous waste, reduction the unknown waste, the waste management from the laboratory become more systematic which will reduce the budgets and decreasing the risk to the health.
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/61402
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลen_US
dc.subjectระบบบริหารจัดการของเสียอันตรายen_US
dc.subjectของเสียจากห้องปฏิบัติการen_US
dc.subjectผลงานการขอเลื่อนตำแหน่งen_US
dc.titleระบบบริหารจัดการของเสียจากห้องปฏิบัติการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.title.alternativeManagement of waste from the laboratory Faculty of Pharmacy Mahidol Universityen_US
dc.typeProceeding Articleen_US

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
py-pc-nanthawa-2556.pdf
Size:
363.17 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description: