The study of defense mechanisms among patients with major depressive disorder
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 63 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Kultida Sangklung The study of defense mechanisms among patients with major depressive disorder. Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92316
Title
The study of defense mechanisms among patients with major depressive disorder
Alternative Title(s)
การศึกษากลไกทางจิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This study was a survey research examining defense mechanism of patients with major depressive disorder (MDD). The objectives of this study were to understand how patients with MDD use defense mechanisms, to study factors involving in using defense mechanisms, and to study the correlation between relative factors and defense mechanisms of patients with MDD. A total of 130 subjects were patients with MDD who had been treated in the Psychiatric Outpatient Department at Siriraj Hospital. The data were collected using interview, Hamilton Rating Scale for Depression (HRSD), and The Defense Style Questionnaire (DSQ-60). The study found that Adaptive was a group of defense that MDD patients used the most, and Withdrawal was an outstanding defense used among MDD patients. The factor related to using defense mechanism was the severity of depression. The study also found that Image distorting and Affect regulating defense had positive correlation with severity of depression, but Adaptive defense had negative correlation. Thus, awareness of severity of depression among patients is crucial in order to increase Adaptive defense rather than practicing Maladaptive defense.
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาการใช้กลไกทางจิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้กลไก ทางจิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เข้ารับการรักษาที่หน่วยตรวจโรค จิตเวชศาสตร์ อาคารผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศิริราช จำนวนทั้งหมด 130 คน เก็บข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป, แบบประเมินความ รุนแรงอาการซึมเศร้า (HRSD) และแบบประเมินลักษณะการใช้กลไกทางจิต (DSQ-60) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มผู้ป่วยโรคซึมเศร้าใช้กลไกทางจิตในกลุ่ม Adaptive มากที่สุด และเมื่อพิจารณาแต่ละชนิดของกลไกทางจิตพบว่า กลไกทางจิต Withdrawal เป็นชนิดของกลไก ทางจิตที่เด่นในกลุ่มผู้ป่วยโรคซึมเศร้า นอกจากนี้ยังพบว่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้กลไกทางจิตคือ ปัจจัยด้านระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า โดยกลไกทางจิตกลุ่ม Image distorting และ Affect regulating มีความสัมพันธ์ทางบวกกับระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า ส่วนกลไกทางจิตกลุ่ม Adaptive มีความสัมพันธ์ทางลบกับระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า ดังนั้นหากพบการใช้กลไก ทางจิตกลุ่ม Maladaptive ในผู้ป่วย เราควรตระหนักถึงระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า และ พยายามช่วยให้ผู้ป่วยเพิ่มการใช้กลไกทางจิตกลุ่ม Adaptive แทน
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาการใช้กลไกทางจิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้กลไก ทางจิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เข้ารับการรักษาที่หน่วยตรวจโรค จิตเวชศาสตร์ อาคารผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศิริราช จำนวนทั้งหมด 130 คน เก็บข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป, แบบประเมินความ รุนแรงอาการซึมเศร้า (HRSD) และแบบประเมินลักษณะการใช้กลไกทางจิต (DSQ-60) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มผู้ป่วยโรคซึมเศร้าใช้กลไกทางจิตในกลุ่ม Adaptive มากที่สุด และเมื่อพิจารณาแต่ละชนิดของกลไกทางจิตพบว่า กลไกทางจิต Withdrawal เป็นชนิดของกลไก ทางจิตที่เด่นในกลุ่มผู้ป่วยโรคซึมเศร้า นอกจากนี้ยังพบว่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้กลไกทางจิตคือ ปัจจัยด้านระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า โดยกลไกทางจิตกลุ่ม Image distorting และ Affect regulating มีความสัมพันธ์ทางบวกกับระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า ส่วนกลไกทางจิตกลุ่ม Adaptive มีความสัมพันธ์ทางลบกับระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า ดังนั้นหากพบการใช้กลไก ทางจิตกลุ่ม Maladaptive ในผู้ป่วย เราควรตระหนักถึงระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า และ พยายามช่วยให้ผู้ป่วยเพิ่มการใช้กลไกทางจิตกลุ่ม Adaptive แทน
Description
Clinical Psychology (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Clinical Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University