Pathogemesis of falciparum malaria induced by host response mechanisms

dc.contributor.advisorRachanee Udomsangpetch
dc.contributor.advisorSasithon Pukrittayakamee
dc.contributor.advisorWhite Nicholas J.
dc.contributor.authorPremthip Akkayanont
dc.date.accessioned2024-07-05T02:24:57Z
dc.date.available2024-07-05T02:24:57Z
dc.date.copyright1996
dc.date.created1996
dc.date.issued2024
dc.descriptionPathobiology (Mahidol University 1996)
dc.description.abstractCytoadherence of rosetting and nonrosetting Plasmodium falciparum-infected red blood cells (PRBC) to human umbilical vein endothelial cells (HUVEC) being exposed to normal and malaria plasma were studied for the effects of plasma concentration exposure time and of high temperature (40 degree C). Thirty three normal plasma, 26 uncomplicated malaria and 38 severe malaria plasma were used in the study. The highest level of cytoadherence in any case was observed when HUVEC exposed to undiluted plasma, that of severe malaria and plasma of uncomplicated malaria gave higher number of PRBC bound to HUVEC than normal plasma. Upon 4 and 8 hour-incubation at 37 degree C, 32% of severe and 29% of uncomplicated malaria plasma significantly increased the binding capacity of HUVEC. In addition, cytoadherence of PRBC to HUVEC exposed to all malaria or normal plasma at 40 degree C was higher than that at 37 degree C.
dc.description.abstractการทดลองนี้เป็นการศึกษาผลของพลาสมา ผู้ป่วยมาลาเรีย ต่อการยึดเกาะของเม็ดเลือดแดงติดเชื้อ Plasmodium falciparum ที่ทำให้เกิด rosette และเม็ดเลือดติดเชื้อชนิดที่ไม่เกิด rosette ต่อเซลล์ บุผนังหลอดเลือดดำใหญ่จากรกของเด็กแรกเกิด (human umbilical vein endothelial cells) โดยการศึกษา ผลของความเข้มข้นของพลาสมา, ช่วงเวลาที่พลาสมาสัมผัส กับเซลล์บุผนังหลอดเลือดดำ, และอุณหภูมิที่สูง (40 องศา เซลเซียส) ต่อการยึดเกาะของเม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อกับ เซลล์บุผนังหลอดเลือดดำใหญ่ พลาสมาที่นำมาศึกษาประกอบ ด้วย พลาสมาจากคนปกติ 33 ตัวอย่าง, พลาสมาจากผู้ป่วย มาลาเรียที่มีอาการไม่รุนแรง (uncomplicated malaria) 26 ตัวอย่างและพลาสมามาจากผู้ป่วยมาลาเรียที่มีอาการ รุนแรง (severe malaria) 38 ตัวอย่าง จากการศึกษาพบว่า การยึดเกาะมากที่สุดเมื่อเซลล์ บุผนังหลอดเลือดสัมผัสกับพลาสมาเข้มข้นในทุกกลุ่มพลาสมา พลาสมาจากผู้ป่วยมาลาเรียที่ไม่รุนแรงทำให้เกิดการยึดเกาะ มากกว่าพลาสมาของคนปกติและผู้ป่วยมาลาเรียรุนแรง สภาวะที่ 4 และ 8 ชั่วโมงอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นภาวะที่เหมาะสมทำให้พลาสมาของผู้ป่วยเพิ่มความสามารถ ในการยึดเกาะของเม็ดเลือดแดงติดเชื้อกับเซลล์บุผนังหลอด เลือดอย่างมีนัยสำคัญ การยึดเกาะของเม็ดเลือดแดงติดเชื้อ กับเซลล์บุผนังหลอดเลือดที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส มากกว่าที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ทั้งในพลาสมาจากคนปกติ และจากผู้ป่วยมาลาเรียทุกราย
dc.format.extentviii, 79 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Pathobiology))--Mahidol University, 1996
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99283
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectPlasmodium falciparum -- Pathogenicity
dc.titlePathogemesis of falciparum malaria induced by host response mechanisms
dc.title.alternativeการตอบสนองในระบบภูมิคุ้มกันโรคกับการเกิดพยาธิสภาพในมาเลเรียชนิดฟัลซิปารั่ม
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/10131954.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Science
thesis.degree.disciplinePathobiology
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files