Using camera traps to access habitat use and body condition of Banteng (Bos javanicus d'Alton, 1823) after reintroduction in Salakphra wildlife sanctuary, Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 84 leaves : ill., maps
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Appropriate Technology and Innovation for Environmental Security))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Praeploy Kongsurakan Using camera traps to access habitat use and body condition of Banteng (Bos javanicus d'Alton, 1823) after reintroduction in Salakphra wildlife sanctuary, Thailand. Thesis (M.Sc. (Appropriate Technology and Innovation for Environmental Security))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91796
Title
Using camera traps to access habitat use and body condition of Banteng (Bos javanicus d'Alton, 1823) after reintroduction in Salakphra wildlife sanctuary, Thailand
Alternative Title(s)
การใช้กล้องดักจับภาพเพื่อประเมินการใช้ถิ่นที่อยู่อาศัยและสภาพร่างกายของวัวแดง (Bos javanicus d'Alton, 1823) หลังการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ ประเทศไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Wildlife reintroduction is the end-point solution for species conservation when they are going to extinct, for example, a case of banteng (Bos javanicus d'Alton, 1823) in Salakphra Wildlife Sanctuary, Thailand. It is essential to monitor reintroduced animals when implementing reintroduction program. This research aims to study habitat selection, activities pattern, and body condition of reintroduced banteng in Salakphra Wildlife Sanctuary and also provide practical guidelines for the future program management. The 32 camera stations, installed nearby animal trails, water sources and saltlicks, were set to collect reintroduced banteng's photographs. The 1,879 of 191,748 photographs which were accumulated in 4,602 trap-nights were obtained as banteng's photographs. The location, date, and time of each individual presence based on GIS data were analyzed. The correlation between environmental factors and banteng detection were predicted by the binomial logistic regression. The results found that banteng photos indicated 40.8% of Relative abundance indices. By the model prediction, bantengs prefer plain land which is near water sources, saltlicks, and villages, but far from roads. 27% of whole area were estimated to the suitable habitat of the banteng. The habitat use estimation showed that banteng used the total area of approximately 34.52 km2, while they used area about 15.31 km2 for their home range. The active period of the banteng was found to be mostly during early evening from 5:01 p.m. to 6.00 p.m. and during afternoon from 2.01 to 4.00 p.m. From scoring, the banteng body condition increased significantly over time an upward trend during two years since releasing. This research reflects that the banteng can adapt to their natural habitat in Salakphra Wildlife Sanctuary after reintroduction. These findings also propose to preserve the plain area to be the banteng habitat, allocate water sources and saltlicks to increase their population, and continue reintroduction program with adaptive management. Furthermore, long term monitoring is required for reintroduction program implementation and development.
การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติถือเป็นทางเลือกสุดท้ายสำหรับการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ เมื่อสัตว์ป่าเหล่านั้นกำลังเข้าสู่ภาวะสูญพันธ์ ยกตัวอย่างเช่นกรณีของวัวแดง (Bos javanicus d'Alton, 1823) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ ประเทศไทย การติดตามสัตว์ป่าภายหลังการปล่อยคืนสู่ธรรมชาตินับเป็นสิ่งจำเป็นเมื่อมีการดำเนินโครงการ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเลือกใช้ถิ่นที่อยู่อาศัย รูปแบบการทำกิจกรรม และสภาวะทางร่างกาย ของวัวแดง ภายหลังการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ และเพื่อเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการจัดการโครงการในอนาคต กล้องดักถ่ายภาพสัตว์ป่าถูกติดตั้งใน 32 พื้นที่ ใกล้ทางด่านสัตว์ป่า แหล่งน้ำ และ แหล่งโป่ง เป็นระยะเวลา 4,602 คืน ได้ภาพวัวแดง 1,879 ภาพ จากภาพทั้งหมด 191,748 ภาพ จากนั้นนำภาพวัวแดงทั้งหมดมาจำแนกเป็นรายตัว ข้อมูลตำแหน่ง วันและเวลาที่พบวัวแดงแต่ละตัว วิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแวดล้อมและการพบวัวแดงด้วยสมการถดถอยโลจิสติกส์แบบสองทาง ผลการศึกษาพบว่าวัวแดงมีความมากมายสัมพัทธ์ 40.8% จากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ พบว่าวัวแดงเลือกใช้พื้นที่ราบใกล้แหล่งน้ำ แหล่งโป่ง และหมู่บ้าน แต่พบไกลจากถนน พบว่ามีพื้นที่เหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์คิดเป็น 27% ของพื้นที่ศึกษา จากการประมาณการใช้ประโยชน์พื้นที่ของวัวแดง พบว่าวัวแดงมีการใช้ถิ่นที่อยู่อาศัยรวมประมาณ 34.52 ตารางกิโลเมตร และมีพื้นที่หากินประมาณ 15.31 ตารางกิโลเมตร ช่วงเวลาในการทำกิจกรรมของวัวแดงพบมากในช่วงพลบค่ำตั้งแต่ 17.01 น. ถึง 18.00 น. และช่วงบ่ายตั้งแต่ 14.01 ถึง 15.00 น. จากการประเมินสภาวะทางร่างกายด้วยการให้คะแนน พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) ภายหลังปล่อยคืนสู่ธรรมชาติในปี ที่ 2 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการปรับตัวของวัวแดงในถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระภายหลังการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ การศึกษานี้เสนอให้มีการสงวนพื้นที่ราบเพื่อเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของวัวแดง มีการจัดการแหล่งน้ำและแหล่งโป่งเพื่อเพิ่มประชากรวัวแดง และดำเนินการโครงการอย่างต่อเนื่องพร้อมกับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การปรับปรุงและพัฒนาโครงการปล่อยวัวแดงคืนสู่ธรรมชาติยังคงต้องการการติดตามผลใน ระยะยาว
การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติถือเป็นทางเลือกสุดท้ายสำหรับการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ เมื่อสัตว์ป่าเหล่านั้นกำลังเข้าสู่ภาวะสูญพันธ์ ยกตัวอย่างเช่นกรณีของวัวแดง (Bos javanicus d'Alton, 1823) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ ประเทศไทย การติดตามสัตว์ป่าภายหลังการปล่อยคืนสู่ธรรมชาตินับเป็นสิ่งจำเป็นเมื่อมีการดำเนินโครงการ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเลือกใช้ถิ่นที่อยู่อาศัย รูปแบบการทำกิจกรรม และสภาวะทางร่างกาย ของวัวแดง ภายหลังการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ และเพื่อเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการจัดการโครงการในอนาคต กล้องดักถ่ายภาพสัตว์ป่าถูกติดตั้งใน 32 พื้นที่ ใกล้ทางด่านสัตว์ป่า แหล่งน้ำ และ แหล่งโป่ง เป็นระยะเวลา 4,602 คืน ได้ภาพวัวแดง 1,879 ภาพ จากภาพทั้งหมด 191,748 ภาพ จากนั้นนำภาพวัวแดงทั้งหมดมาจำแนกเป็นรายตัว ข้อมูลตำแหน่ง วันและเวลาที่พบวัวแดงแต่ละตัว วิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแวดล้อมและการพบวัวแดงด้วยสมการถดถอยโลจิสติกส์แบบสองทาง ผลการศึกษาพบว่าวัวแดงมีความมากมายสัมพัทธ์ 40.8% จากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ พบว่าวัวแดงเลือกใช้พื้นที่ราบใกล้แหล่งน้ำ แหล่งโป่ง และหมู่บ้าน แต่พบไกลจากถนน พบว่ามีพื้นที่เหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์คิดเป็น 27% ของพื้นที่ศึกษา จากการประมาณการใช้ประโยชน์พื้นที่ของวัวแดง พบว่าวัวแดงมีการใช้ถิ่นที่อยู่อาศัยรวมประมาณ 34.52 ตารางกิโลเมตร และมีพื้นที่หากินประมาณ 15.31 ตารางกิโลเมตร ช่วงเวลาในการทำกิจกรรมของวัวแดงพบมากในช่วงพลบค่ำตั้งแต่ 17.01 น. ถึง 18.00 น. และช่วงบ่ายตั้งแต่ 14.01 ถึง 15.00 น. จากการประเมินสภาวะทางร่างกายด้วยการให้คะแนน พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) ภายหลังปล่อยคืนสู่ธรรมชาติในปี ที่ 2 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการปรับตัวของวัวแดงในถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระภายหลังการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ การศึกษานี้เสนอให้มีการสงวนพื้นที่ราบเพื่อเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของวัวแดง มีการจัดการแหล่งน้ำและแหล่งโป่งเพื่อเพิ่มประชากรวัวแดง และดำเนินการโครงการอย่างต่อเนื่องพร้อมกับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การปรับปรุงและพัฒนาโครงการปล่อยวัวแดงคืนสู่ธรรมชาติยังคงต้องการการติดตามผลใน ระยะยาว
Description
Appropriate Technology and Innovation for Environmental Security (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Appropriate Technology and Innovation for Environmental Security
Degree Grantor(s)
Mahidol University