The relationship between stress, self-esteem, and health promoting behaviors of adolescents in Bangkok Metropolitan

dc.contributor.advisorPornpimon Chandanasotthi
dc.contributor.authorTanaporn Thammatuksa
dc.date.accessioned2025-03-11T06:50:11Z
dc.date.available2025-03-11T06:50:11Z
dc.date.copyright2004
dc.date.created2025
dc.date.issued2004
dc.descriptionPublic Health Nursing (Mahidol University 2004)
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the relationship between stress, self-esteem and health promoting behaviors of adolescents. The sample group comprised 250 adolescents aged between 10 - 19 years living in Bangkok metropolitan. The General Health Questionnaire (GHQ-28), the Self-esteem Questionnaire, and the Culturally Modified Adolescent Lifestyle Questionnaire were used for data collection. Statistical analysis was done using mean, percentage, standard deviation, t-test, Pearson's Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression with statistically significant level at 0.05. Results showed that most of the adolescents had normal levels of overall stress, somatic symptoms, anxiety and insomnia, social dysfunction and severe depression. Most of the adolescents also had a moderate level of self-esteem and overall health promoting behavior. The adolescents had higher scores of health promoting behavior on safety compared to identity awareness, social support, physical participation, nutrition, stress management and health awareness ( x = 3.88, 3.81, 3.69, 3.49, 3.34, 3.29 and 3.08, respectively). Age, GPA, allowance, and self-esteem had a positive relationship with health promoting behavior (p-value < 0.05) while stress had a negative relationship with health promoting behavior (r= - 0.265, p - value > 0.05). The results also showed that GPA, age, self-esteem and stress altogether could predict 24.3% of variance in health promoting behaviors of adolescents. The results of this study provide guidance for family and relatives of adolescents to support and help adolescents to build self-esteem and enhance health promoting behavior of adolescents.
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ความเครียด ความมีคุณค่าในตนเองกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นอายุ 10-19 ปี ซึ่งอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 250 คน เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามถามความเครียด(General Health Questionnaire, GHQ28) แบบวัดความมีคุณค่าในตนเอง(Self-esteem Questionnaire) และแบบสอบถามวิถีชีวิตวัยรุ่น (The Adolescent Life Style Questionnaire) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอนที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า วัยรุ่นส่วนใหญ่มีความเครียดโดยรวมและอาการแสดงออกของความเครียดด้านร่างกาย วิตกกังวล นอนไม่หลับ ความบกพร่องทางสังคม และอาการซึมเศร้าอยู่ในระดับปกติ ความมีคุณค่าใน ตนเองอยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 66.8) พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 67.6) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า วัยรุ่นมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพด้านความปลอดภัยดีที่สุด รองลงมา ได้แก่ การรับรู้เอกลักษณ์ของตนเอง การรับความช่วยเหลือจากสังคม การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร การจัดการความเครียดและด้านสุขวิทยาทั่วไป ( คะแนนเฉลี่ย 3.88, 3.81, 3.69, 3.49, 3.34, 3.29 , 3.08 ตามลำดับ) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า อายุ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ค่าใช้จ่ายที่ได้รับแต่ละเดือน และความมีคุณค่าในตนเอง มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ส่วนความเครียดมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = - 0.265, p-value < 0.05) เมื่อวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบขั้นตอน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อายุ ความมีคุณค่าในตนเอง และความเครียดสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพได้ร้อยละ 24.3 ผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ บุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องกับวัยรุ่น ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้วัยรุ่นเกิดความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง จัดกิจกรรมเพื่อการเสริมสร้างพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพให้เหมาะสมกับวัยรุ่น
dc.format.extentvii, 89 leaves
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Public Health Nursing))--Mahidol University, 2004
dc.identifier.isbn9740457908
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/106023
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectAdolescent -- Thailand -- Bangkok
dc.subjectHealth Promotion
dc.subjectSelf Concept
dc.subjectStress
dc.titleThe relationship between stress, self-esteem, and health promoting behaviors of adolescents in Bangkok Metropolitan
dc.title.alternativeความสัมพันธ์ระหว่างความเครียด ความมีคุณค่าในตนเองกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของวัยรุ่นเขตกรุงเทพมหานคร
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/4236100.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Public Health
thesis.degree.disciplinePublic Health Nursing
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files