Induced mutation of crude oil biodegrading bacteria (Pseudomonas aeruginosa)
Issued Date
2004
Copyright Date
2004
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 133 leaves : ill. (some col.)
ISBN
9740448623
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Environmental Biology))--Mahidol University, 2004
Suggested Citation
Apiradee Suwanwong Induced mutation of crude oil biodegrading bacteria (Pseudomonas aeruginosa). Thesis (M.Sc. (Environmental Biology))--Mahidol University, 2004. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/105668
Title
Induced mutation of crude oil biodegrading bacteria (Pseudomonas aeruginosa)
Alternative Title(s)
การเหนี่ยวนำมิวเตชันในแบคทีเรียที่ย่อยสลายน้ำมัน
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objective of this research was to find techniques to enhance oil biodegradation in petroleum contaminated soil. Induced mutation by UV irradiation of Pseudomonas aeruginosa MU 01 was performed. The UV dose that caused the mutation was 3,000 μ J/cm2. This dose also enhanced the survival rate of P. aeruginosa MU 01. This technique has yielded several mutants. Blood agar plates were used to screen the mutants. The biodegrading ability of control parents and mutants was compared using
hemolytic activity. One mutant strain has been found to have the highest hemolytic activity. It was named PMU 01 strain according to the pale green colony color whereas the parent colony color was white. Therefore, PMU 01 was selected to test the ability of degradation compared to MU 01 at various concentrations of crude oil content (0.5%, 1%, and 2%) in mineral salt media with a shake-flask technique. Quantitative analyses of residual crude oil were conducted by gas chromatography / flame ionization detector. In 0.5% crude oil concentration, the highest removal percentage by PMU 01 at day 7 was 95.45% in C21-C30 region, whereas in MU 01 it was 92.83%. In 1% crude oil, the highest removal percentage at day 7 was 48.74% in C21-C30 region by PMU 01 whereas in MU 01, it was 28.42%. In 2% concentration crude oil, the highest removal percentage at day 7 by PMU 01 was 64.14% in C9-C20 region whereas in MU 01, it was 51.58%. However, the biodegradation of PMU 01 in all components and all ranges of crude oil concentration was greater than that of MU 01. This experiment indicated that the mutant strain PMU 01 could degrade crude oil with higher efficiency than the parent MU 01 (p<0.05).
งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาเทคนิคทางชีววิทยาในการกำจัดการปนเปื้อนของปิโตรเลียมในสิ่งแวดล้อม โดยใช้เทคนิคในการเหนี่ยวนำให้เกิดมิวเตชันในแบคทีเรีย Pseudomanas aeruginosa MU 01 โดยใช้แสงอัลตราไวโอเลต (UV) จากการศึกษาได้แบคทีเรียที่กลายพันธุ์หลายชนิดในช่วง UV dose 3,000 μ J/cm2 และได้ทำการคัดเลือกแบคทีเรียที่กลายพันธุ์โดยใช้ blood agar เปรียบเทียบความสามารถในการย่อยสลายเม็ดเลือดแดงระหว่างแบคทีเรียตัวเดิมกับตัวกลายพันธุ์ พบว่ามี 1 ชนิดที่สามารถย่อยได้ดีที่สุดโดยได้ตั้งชื่อว่า สายพันธุ์ PMU 01 เนื่องจากว่าโคโลนีมีสีเขียวอ่อนๆ ต่างจากแบคทีเรียตัวเดิมซึ่งมีสีขาว ดังนั้นจึงนำ PMU 01ไปทดสอบความสามารถในการย่อยสลายน้ำมันดิบหลายความเข้มข้น ได้แก่ 0.5%, 1%, และ 2% ในอาหารเลี้ยงเชื้อ MSM โดยเทคนิคเขย่าบนแท่นเขย่าเปรียบเทียบกับแบคทีเรียตัวเดิมแล้วทำการวิเคราะห์ปริมาณน้ำมันที่เหลืออยู่โดยใช้เครื่อง Gas chromatography/Flame ionization detector (GC/FID) จากนั้นเปรียบเทียบเปอร์เซนต์น้ำมันที่ย่อยสลายไปได้ระหว่างแบคทีเรียสายพันธุ์ PMU 01 กับ MU 01ในเวลา 7 วัน ในการย่อยสลายน้ำมันสามารถแบ่งแยกได้เป็น 4 ช่วง ตามวิธีการสกัดคือช่วง C9-C20, ช่วง C21-C30, ช่วงไฮโดรคาร์บอนที่สกัดได้, และผลรวมของไฮโดรคาร์บอนทั้งหมด ในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีน้ำมันดิบ 0.5% การย่อยสลายน้ำมันสูงสุดของสายพันธุ์ PMU 01ในช่วง C21-C30 ได้ 95.45% ขณะที่สายพันธุ์ MU 01 ย่อยได้ 92.83% ใน 1% น้ำมันดิบ การย่อยสลายน้ำมันสูงสุดในช่วง C21-C30 ได้ 48.74% สำหรับ PMU 01 ขณะที่ MU 01 ย่อยได้ 28.42% และใน 2% น้ำมันดิบ การย่อยสลายน้ำมันสูงสุดอยู่ในช่วง C9-C20 ได้ 64.14% สำหรับ PMU 01 ขณะที่ MU 01 ย่อยได้ 51.58% อย่างไรก็ตาม การย่อยสลายน้ำมันดิบของ PMU 01 ในทุกเปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นและในทุกองค์ประกอบของน้ำมันมีค่ามากกว่า MU 01 ดังนั้นผลที่ได้ชี้ให้เห็นว่า PMU 01 ที่กลายพันธุ์ไปแล้วสามารถย่อยสลายน้ำมันดิบได้โดยมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าตัวเดิมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาเทคนิคทางชีววิทยาในการกำจัดการปนเปื้อนของปิโตรเลียมในสิ่งแวดล้อม โดยใช้เทคนิคในการเหนี่ยวนำให้เกิดมิวเตชันในแบคทีเรีย Pseudomanas aeruginosa MU 01 โดยใช้แสงอัลตราไวโอเลต (UV) จากการศึกษาได้แบคทีเรียที่กลายพันธุ์หลายชนิดในช่วง UV dose 3,000 μ J/cm2 และได้ทำการคัดเลือกแบคทีเรียที่กลายพันธุ์โดยใช้ blood agar เปรียบเทียบความสามารถในการย่อยสลายเม็ดเลือดแดงระหว่างแบคทีเรียตัวเดิมกับตัวกลายพันธุ์ พบว่ามี 1 ชนิดที่สามารถย่อยได้ดีที่สุดโดยได้ตั้งชื่อว่า สายพันธุ์ PMU 01 เนื่องจากว่าโคโลนีมีสีเขียวอ่อนๆ ต่างจากแบคทีเรียตัวเดิมซึ่งมีสีขาว ดังนั้นจึงนำ PMU 01ไปทดสอบความสามารถในการย่อยสลายน้ำมันดิบหลายความเข้มข้น ได้แก่ 0.5%, 1%, และ 2% ในอาหารเลี้ยงเชื้อ MSM โดยเทคนิคเขย่าบนแท่นเขย่าเปรียบเทียบกับแบคทีเรียตัวเดิมแล้วทำการวิเคราะห์ปริมาณน้ำมันที่เหลืออยู่โดยใช้เครื่อง Gas chromatography/Flame ionization detector (GC/FID) จากนั้นเปรียบเทียบเปอร์เซนต์น้ำมันที่ย่อยสลายไปได้ระหว่างแบคทีเรียสายพันธุ์ PMU 01 กับ MU 01ในเวลา 7 วัน ในการย่อยสลายน้ำมันสามารถแบ่งแยกได้เป็น 4 ช่วง ตามวิธีการสกัดคือช่วง C9-C20, ช่วง C21-C30, ช่วงไฮโดรคาร์บอนที่สกัดได้, และผลรวมของไฮโดรคาร์บอนทั้งหมด ในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีน้ำมันดิบ 0.5% การย่อยสลายน้ำมันสูงสุดของสายพันธุ์ PMU 01ในช่วง C21-C30 ได้ 95.45% ขณะที่สายพันธุ์ MU 01 ย่อยได้ 92.83% ใน 1% น้ำมันดิบ การย่อยสลายน้ำมันสูงสุดในช่วง C21-C30 ได้ 48.74% สำหรับ PMU 01 ขณะที่ MU 01 ย่อยได้ 28.42% และใน 2% น้ำมันดิบ การย่อยสลายน้ำมันสูงสุดอยู่ในช่วง C9-C20 ได้ 64.14% สำหรับ PMU 01 ขณะที่ MU 01 ย่อยได้ 51.58% อย่างไรก็ตาม การย่อยสลายน้ำมันดิบของ PMU 01 ในทุกเปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นและในทุกองค์ประกอบของน้ำมันมีค่ามากกว่า MU 01 ดังนั้นผลที่ได้ชี้ให้เห็นว่า PMU 01 ที่กลายพันธุ์ไปแล้วสามารถย่อยสลายน้ำมันดิบได้โดยมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าตัวเดิมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
Description
Environmental Biology (Mahidol University 2004)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Environmental Biology
Degree Grantor(s)
Mahidol University