Conceptual legal framework of open government data for Thailand : data governance aspects
Issued Date
2018
Copyright Date
2018
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 101 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Natcha Dumthanasarn Conceptual legal framework of open government data for Thailand : data governance aspects. Thesis (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92289
Title
Conceptual legal framework of open government data for Thailand : data governance aspects
Alternative Title(s)
แนวคิดกรอบกฎหมายข้อมูลสาธารณะของภาครัฐสำหรับประเทศไทย : มุมมองของการกำกับดูแลข้อมูล
Author(s)
Abstract
Data Governance for open government data is a significant process which defines the roles and responsibilities of the person in charge of data management in a government agency to gain the open government data and to use it correctly, ensure the security of personal data including defining the standardization of data, consistency and effectively link and use open data between the agencies. Many countries in the world have considered data governance and dissemination of open government data to the citizens imperative, therefore there is need for a prescribed law that regard this issue. Although, Thailand has prescribed a draft of public information act, data governance for government data is still unclear. Therefore, this research proposed a conceptual legal framework for open government data in terms of data governance aspects by doing a gap analysis and comparative results between Public Information Act of the United State of America, the Republic of Korea and the current draft of Public Information Act of Thailand on the issues of organizational structure and roles and responsibilities of Public Information Committee. This included defining the standardization and security on open data by taking data governance framework of Data Governance Institute (DGI framework) as a guideline for determining the procedures and compliance according to the data governance framework for Thailand. The evaluation of issues that had a legal impact on the use of public data was done by the legal expert. The results of this research would be a guideline for the revision of the Public Information Act in the future.
การกำกับดูแลข้อมูลภาครัฐเป็นกระบวนการที่สำคัญในการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่มีหน้าที่ในการดูแลบริหารข้อมูลทั้งหมดของภาครัฐให้ได้มาซึ่งการนำข้อมูลของภาครัฐไปใช้ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนโดยมีการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการกำหนดมาตรฐานของข้อมูลให้มีความสอดคล้อง เพื่อสามารถเชื่อมโยงการใช้ข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย จึงจำเป็นที่จะต้องมีกฎหมายเกี่ยวกับการกำกับดูแลข้อมูลเพื่อทำให้การจัดการข้อมูลภายในองค์กรเป็นไปโดยมาตรฐานและปลอดภัยหลายประเทศทั่วโลกเล็งเห็นถึงความจำเป็นของการกำกับดูแลข้อมูลและการเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะของภาครัฐแก่ประชาชน จึงได้มีการบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้เพื่อใช้ในการจัดการดูแลข้อมูล ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการบัญญัติร่างกฎหมายเกี่ยวกับข้อมูลสาธารณะ แต่ยังมีความไม่ชัดเจนสำหรับการกำกับดูแลข้อมูลของภาครัฐ การศึกษาวิจัยนี้จึงได้นำเสนอแนวคิดกรอบกฎหมายสำหรับข้อมูลสาธารณะของภาครัฐสำหรับประเทศไทยในมุมมองของการกำกับดูแลข้อมูลโดยทาการวิเคราะห์หาช่องว่างและเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายข้อมูลสาธารณะของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศเกาหลีใต้และร่างกฎหมายข้อมูลสาธารณะของประเทศไทยในประเด็นของโครงสร้างองค์กรและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการการกำกับดูแลข้อมูล รวมถึงการกำหนดมาตรฐานและการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสาธารณะโดยนำกรอบการกำกับดูแลข้อมูลของสถาบันการกำกับดูแลข้อมูล (DGI Framework) มาเป็นแนวทางในการพิจารณาขั้นตอนและการปฏิบัติ ตามกรอบการกำกับดูแลข้อมูลสำหรับประเทศไทย รวมถึงมีการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านกฎหมายในประเด็นที่อาจส่งผลกระทบทางกฎหมายต่อการใช้ข้อมูลสาธารณะ ซึ่งผลของการวิจัยในครั้งนี้จะเป็นแนวทางสาหรับการปรับปรุงร่างกฎหมายข้อมูลสาธารณะของประเทศไทยในอนาคต
การกำกับดูแลข้อมูลภาครัฐเป็นกระบวนการที่สำคัญในการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่มีหน้าที่ในการดูแลบริหารข้อมูลทั้งหมดของภาครัฐให้ได้มาซึ่งการนำข้อมูลของภาครัฐไปใช้ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนโดยมีการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการกำหนดมาตรฐานของข้อมูลให้มีความสอดคล้อง เพื่อสามารถเชื่อมโยงการใช้ข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย จึงจำเป็นที่จะต้องมีกฎหมายเกี่ยวกับการกำกับดูแลข้อมูลเพื่อทำให้การจัดการข้อมูลภายในองค์กรเป็นไปโดยมาตรฐานและปลอดภัยหลายประเทศทั่วโลกเล็งเห็นถึงความจำเป็นของการกำกับดูแลข้อมูลและการเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะของภาครัฐแก่ประชาชน จึงได้มีการบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้เพื่อใช้ในการจัดการดูแลข้อมูล ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการบัญญัติร่างกฎหมายเกี่ยวกับข้อมูลสาธารณะ แต่ยังมีความไม่ชัดเจนสำหรับการกำกับดูแลข้อมูลของภาครัฐ การศึกษาวิจัยนี้จึงได้นำเสนอแนวคิดกรอบกฎหมายสำหรับข้อมูลสาธารณะของภาครัฐสำหรับประเทศไทยในมุมมองของการกำกับดูแลข้อมูลโดยทาการวิเคราะห์หาช่องว่างและเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายข้อมูลสาธารณะของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศเกาหลีใต้และร่างกฎหมายข้อมูลสาธารณะของประเทศไทยในประเด็นของโครงสร้างองค์กรและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการการกำกับดูแลข้อมูล รวมถึงการกำหนดมาตรฐานและการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสาธารณะโดยนำกรอบการกำกับดูแลข้อมูลของสถาบันการกำกับดูแลข้อมูล (DGI Framework) มาเป็นแนวทางในการพิจารณาขั้นตอนและการปฏิบัติ ตามกรอบการกำกับดูแลข้อมูลสำหรับประเทศไทย รวมถึงมีการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านกฎหมายในประเด็นที่อาจส่งผลกระทบทางกฎหมายต่อการใช้ข้อมูลสาธารณะ ซึ่งผลของการวิจัยในครั้งนี้จะเป็นแนวทางสาหรับการปรับปรุงร่างกฎหมายข้อมูลสาธารณะของประเทศไทยในอนาคต
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University