Kasong Syntax
dc.contributor.advisor | Suwilai Premsrirat | |
dc.contributor.advisor | Amon Thavisak | |
dc.contributor.advisor | Sophana Srichampa | |
dc.contributor.advisor | Migliazza, Brian | |
dc.contributor.author | Sunee Kamnuansin | |
dc.date.accessioned | 2025-04-01T03:16:12Z | |
dc.date.available | 2025-04-01T03:16:12Z | |
dc.date.copyright | 2002 | |
dc.date.created | 2025 | |
dc.date.issued | 2002 | |
dc.description | Linguistics (Mahidol University 2002) | |
dc.description.abstract | This thesis is a study of Kasong syntax. Kasong language belongs to the Pearic branch of Mon-Khmer subfamily within the Austroasiatic language family which is spoken in Trat province of Thailand. This language is generally known as Chong of Trat. It was believed to be the same language as Chong which is spoken mainly in Chanthaburi province in previous studies. This study covers five ranks of the grammatical hierarchy - morpheme, word, phrase, clause and sentence. In addition, the language situation of Kasong is discussed in this study so that it will be useful for further work on this language. The researcher found that Kasong and Chong are different. At the present there are only few Kasong speakers and most of them are elderly people over 55 years old. The data were elicited from the Kasong informants who live in Ban Khlong Saeng, Ban Padaw and Ban Danchumphon, Borai district, Trat province during field works between 2000-2001. The focus was on folktales, daily life communication and various kinds of text materials. The data analysis was based on the Tagmemics and the grammatical approach adopted in this study mainly follows David Thomas (1993). The findings in this study show that the syntactic structure of Kasong language is more like Thai structure though some Mon-Khmer characteristics can still be observed. Affixation that is a significant feature in Mon-Khmer languages, is no longer productive in this language. There are a lot of Thai loanwords in Kasong, especially the grammatical words. The study reveals that Kasong is heavily influenced by Thai since Kasong speakers are bilingual in Kasong and Thai. Moreover, most of them speak Thai more than their own ethnic language. Kasong is now in the serious stage of endangerment. It is predicted that in the next few generations if nothing is done, the Kasong language will disappear when the current speakers die. | |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาลักษณะไวยากรณ์ของภาษากะซอง ซึ่งเป็นภาษาที่จัด อยู่ในตระกูลออสโตรเอเชียติก ตระกูลภาษาย่อยมอญ-เขมร สาขาเพียริก พบมีพูดที่จังหวัดตราด ของประเทศไทย โดยคนทั่วไปเรียกว่าชอง ทำให้เข้าใจว่าเป็นภาษาเดียวกับกลุ่มชองซึ่งมีพูดส่วนใหญ่ในจังหวัดจันทบุรี การศึกษาแต่เริ่มแรกบันทึกภาษานี้ว่าชองของตราด การศึกษานี้ครอบคลุมลำดับขั้นทางไวยากรณ์คือ หน่วยคำ คำ วลี อนุพากย์ และประโยค นอกจากนี้ยังศึกษาสถานการณ์ การใช้ภาษากะซองซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่องานวิจัยในอนาคตสำหรับภาษานี้ ผู้วิจัยพบว่ากะซองกับชองเป็นภาษาที่แตกต่างกัน ปัจจุบันผู้พูดภาษากะซองมีจำนวนน้อยและผู้พูดส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 55 ปี ข้อมูลในการวิเคราะห์รวบรวมจากผู้บอกภาษากะซอง ซึ่งอยู่ที่บ้านคลองแสง บ้านปะเดา และบ้านด่านชุมพล ต.ด่านชุมพล อ.บ่อไร่ จ.ตราด โดยผู้วิจัยปฏิบัติงานภาคสนามระหว่างปี ค.ศ. 2000-2001 การเก็บข้อมูลเน้นเก็บข้อมูลระดับข้อความได้แก่ เรื่องเล่า นิทาน วิธีทำ ตลอดจนบทสนทนา การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ทฤษฎีแทกมีมิคซึ่งวิเคราะห์ภาษา โดยพิจารณาหน้าที่หรือตำแหน่งของหน่วยภาษา กรอบการทำงานตามแนวทางการวิเคราะห์ของ เดวิด โทมัส (David Thomas, 1993) ผลการศึกษาพบว่าภาษากะซองแม้จะมีลักษณะของภาษามอญ-เขมร แต่ลักษณะโครงสร้างทางไวยากรณ์คล้ายกับภาษาไทยมาก การสร้างคำด้วยการเติมวิภัตปัจจัย (affixation) ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของภาษากลุ่มมอญ-เขมรกำลังจะสูญหายไปจากภาษานี้ มีคำยืมภาษาไทยจำนวน มากในภาษากะซองโดยเฉพาะคำไวยากรณ์ แสดงให้เห็นว่าภาษากะซองได้รับอิทธิพลอย่างมากจากภาษาไทย ทั้งนี้เนื่องมาจากผู้พูดกะซองเป็นบุคคลทวิภาษาระหว่างภาษากะซองกับภาษาไทย และ มีการใช้ภาษาไทยมากกว่าภาษาของตนเอง กะซองปัจจุบันเป็นภาษาในภาวะวิกฤตซึ่งโอกาสที่จะฟื้นฟูให้ภาษาคงอยู่ต่อไปเป็นไปได้ยาก คาดได้ว่าอีกหนึ่งหรือสองช่วงอายุภาษานี้คงจะสูญหายไป | |
dc.format.extent | xvii, 216 leaves : ill., maps | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.A. (Linguistics))--Mahidol University, 2002 | |
dc.identifier.isbn | 9740420591 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/107340 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Kasong language -- Syntax | |
dc.title | Kasong Syntax | |
dc.title.alternative | ไวยากรณ์ภาษากะซอง | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/4136582.pdf | |
thesis.degree.department | Institute of Language and Culture for Rural Development | |
thesis.degree.discipline | Linguistics | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Arts |