Setting priorities for introducing new vaccines into the national immunization program
dc.contributor.advisor | Arthorn Riewpaiboon | |
dc.contributor.advisor | Charung Muangchana | |
dc.contributor.advisor | Sripen Tantivess | |
dc.contributor.author | Siriporn Pooripussarakul | |
dc.date.accessioned | 2024-02-07T02:14:04Z | |
dc.date.available | 2024-02-07T02:14:04Z | |
dc.date.copyright | 2014 | |
dc.date.created | 2014 | |
dc.date.issued | 2014 | |
dc.description | Pharmacy Administration (Mahidol University 2014) | |
dc.description.abstract | This study aimed to develop a tool for policy decision making on prioritization of new vaccines into the national immunization program and assess potential vaccines employing the tool developed. A qualitative study was used to identify attributes and levels for quantitative study. Best-worst scaling method (BWS) is a quantitative method to elicit the preference among different stakeholders for prioritizing new vaccines in Thailand. The survey was conducted between October 2013 and January 2014. A total of seventy questionnaires were completed with a 54% response rate. Data were analyzed from three groups of respondents, policy makers, health professionals, and health administrators. Severity, safety, and burden of disease showed the highest preferences among respondents. Policy makers had high preferences for safety and effectiveness. Health professionals had high preferences for burden of disease and safety. Health administrators had high preferences for budget impact, effectiveness, and cost of vaccine. The result was then used for rank-ordering of both the existing as well as new vaccines to determine potential vaccines that should be prioritized into the national immunization program. From the selected vaccines, Diptheria-Tetanus-Pertussis-Hepatitis B vaccine was ranked first, followed by Pneumococcal Conjugate Vaccine-13 and Haemophilus influenza type B vaccine. This reflected that the new vaccine that could protect people from more severe disease and gain individual health benefits would be ranked as a high priority. This study showed quantitative indicators that could be accounting for priority setting of vaccines including the burden of disease, age group, budget impact, safety, severity, effectiveness, and cost of vaccine. The ranking of vaccines could contribute to transparency and accountability in the decision-making process on new vaccine adoption in Thailand. | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องมือจัดลำดับความสำคัญของวัคซีนใหม่เข้าสู่โครงการ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันแห่งชาติ และใช้เครื่องมือดังกล่าวเพื่อประเมินวัคซีน วิธีวิจัยที่ใช้ ได้แก่ การศึกษาเชิงคุณภาพเพื่อค้นหาประเด็นและคุณลักษณะของวัคซีนสำหรับใช้ในการศึกษาเชิงปริมาณ Best-worst scaling method (BWS) เป็นวิธีเชิงปริมาณที่ใช้สำหรับการหาความชอบ (preference) ของผู้ที่เกี่ยวข้อง (stakeholder) ในการให้ความสำคัญของวัคซีนใหม่ การศึกษาได้เก็บข้อมูลในระหว่างช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 ถึง เดือนมกราคม พ.ศ. 2557 โดยการส่งแบบสอบถามและได้รับแบบสอบถามคืนทั้งสิ้น 70 ชุด มีอัตราการตอบแบบสอบถามร้อยละ 54 ผู้ตอบแบบสอบถามที่เกี่ยวข้องกับงานด้านวัคซีนมี 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้กำหนดนโยบาย ผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพสาธารณสุข และผู้บริหารงานด้านสาธารณสุข ประเด็นที่ผู้ตอบให้ความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ความรุนแรงของโรค ความปลอดภัยของวัคซีน และความชุกของโรค โดยกลุ่มผู้กำหนดนโยบายให้ความสำคัญต่อประเด็นความปลอดภัยของวัคซีนและประสิทธิภาพของวัคซีนมากที่สุด ผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพสาธารณสุขให้ความสำคัญต่อประเด็นความชุกของโรคและความปลอดภัยของวัคซีนมากที่สุด ส่วนผู้บริหารงานด้านสาธารณสุขให้ความสำคัญต่อประเด็น ผลกระทบด้านงบประมาณ ประสิทธิภาพของวัคซีน และราคาของวัคซีนมากที่สุด เมื่อนำผลการศึกษาที่ได้ไปใช้จัดลำดับของวัคซีนที่อยู่ในโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแห่งชาติแล้วและวัคซีนใหม่ พบว่าวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส และวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ มีคะแนนสูงสุดเป็นสามลำดับแรก ผลการจัดลำดับนี้สะท้อนให้เห็นว่าวัคซีนที่สามารถป้องกันโรคที่มีความรุนแรงมากและให้ผลลัพธ์เชิงสุขภาพมากจะถูกจัดลำดับความสำคัญเป็นลำดับต้นการศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงตัวชี้วัดเชิงปริมาณที่สามารถนำ มาใช้จัดลำดับความสำคัญของวัคซีน ได้แก่ ภาระโรค กลุ่มอายุ ผลกระทบด้านงบประมาณ ความปลอดภัย ความรุนแรงของโรค ประสิทธิผล และราคาวัคซีน ผลการจัดลำดับของวัคซีนซึ่งได้จากกระบวนการที่โปร่งใสและตรวจสอบได้ สามารถนำ ไปสู่กระบวนการตัดสินใจนำ วัคซีนใหม่เข้าสู่โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแห่งชาติได้ | |
dc.format.extent | xvi, 186 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Pharmacy Administration))--Mahidol University, 2014 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95127 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Vaccines | |
dc.subject | Immunization Programs -- Thailand | |
dc.title | Setting priorities for introducing new vaccines into the national immunization program | |
dc.title.alternative | การจัดลำดับความสำคัญของวัคซีนใหม่เข้าสู่โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแห่งชาติ | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2559/cd513/5337374.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Pharmacy | |
thesis.degree.discipline | Pharmacy Administration | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |