Microangioarchitecture of seminal vesicle and prostate gland in common tree shrew (Tupaia glis)
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2023
Copyright Date
2000
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xvii, 106 leaves : col. ill.
ISBN
9746647318
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
Call No.
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
item.page.oaire.edition
Start Page
End Page
Access Rights
restricted access
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Mahidol University
Physical Location
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 2000
Citation
Koumkrit Pisetpaisan (2023). Microangioarchitecture of seminal vesicle and prostate gland in common tree shrew (Tupaia glis). Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14594/90765.
Title
Microangioarchitecture of seminal vesicle and prostate gland in common tree shrew (Tupaia glis)
Alternative Title(s)
การศึกษาโครงหลอดเลือดโดยละเอียดของเซมินอลเวสสิเคิลและต่อมโพรสเตตในกระแต
Author(s)
Author's Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor's Affiliation
Corresponding Author(s)
Creator(s)
Compiler
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This study was aimed at elucidating the blood supply system to the seminal vesicle and the prostate gland in the common tree shrew (Tupaia glis.). Eighteen male common tree shrews weighing between 110-190 g were used. Their seminal vesicles and prostate glands were prepared for studying with LM and with corrosion cast technique. It was found that the seminal vesicle and prostate glands were supplied by branches of the anterior division of the internal iliac artery. This artery also supplies the pelvic visceral organs. The anterior division of internal iliac artery gives off three main branches. The first one is the superior vesical artery which gives off five branches to supply urinary bladder, ureter, vas deferens, urethra and finally it courses to the medial side of the seminal vesicle to become the seminal vesicle artery. The second branch of anterior division of internal iliac artery is the inferior vesical artery which gives off five to seven branches. Five to six branches supply the dorsal and ventral surfaces of the distal portion (glandular acini region) of the gland and continue to the intermediate section of the ducts and finally supply the proximal portion of tile prostatic ducts adjacent to the prostatic urethra. The remaining branches supply tile prostatic urethra and membranous urethra. The third branch of the anterior division of internal iliac artery is internal pudendal artery. The first and the second branches from the anterior division of the internal iliac artery, usually anastomoses with one another, are called the marginal branch of superior vesical artery. This branch gives off several arterioles to supply the greater curvature and the posteromedial side of the seminal vesicle and the rostral region of the anteroventral lobe of the prostate eland The penetrating arterioles terminate as capillary network. The capillaries supplying the seminal vesicle and prostate gland are without fenestration. The veins from the two glands usually accompany the arteries. The interconnections between veins are usually found in both of seminal vesicle and prostate gland. These veins open into tile internal iliac vein before joining the external iliac artery to form the inferior vena cava. The pattern of blood supply of the prostate gland in the common tree shrew is quite similar to that of human but somewhat different from that of rat. The blood supply to the ventral prostate in rats appears as a single trunk with the base near the proximal portion of the prostatic duct adjacent to the prostatic urethra. These vessels eventually branch out into smaller vessels, at the intermediate section of the duct most of which continue to the distal part (the glandular acini) where they supply tilt distal region of the prostatic duct and the glandular portion.
เมื่อฉีดสารพลาสติกเข้าแทนที่เลือดในหลอดของกระแต แล้วนำโครงหลอดเลือดใน เซมินอลเวสสิเคิล และในต่อมโพรสเตตมาศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ และจุลทรรศน์อิเล็กตรอน แบบส่องกราด พบว่า anterior division of internal iliac artery จะแนกเป็นแขนง ใหญ่ 3 แขนง แขนงแรกชื่อ superior vesical artery แขนงแรกนี้จะแตกเป็นแขนงย่อยอีก 5 แขนง และจะเรียกชื่อตามอวัยวะที่แขนงนั้น ๆ ไปเลี้ยงตามลำดับได้แก่ urinary branch, ureter branch, branch to vas deferens, branch to ampulla of vas deferens และ urethral branch โดยแขนงสุดท้ายนี่เองที่จะวิ่งเข้าไปเลี้ยงทางด้าน medial ของเซมินอลเวสสิเคิล จึงตั้งชื่อแขนงนี้ว่า seminal vesicle artery แขนงที่สอง ของ anterior division of internal iliac artery ชื่อ inferior vesical artery ซึ่งจะแตกให้ 5-7 แขนงย่อย โดย 5-6 แขนงไปเลี้ยงผิวของด้านบน และด้านล่างของต่อม โพรสเตต ซึ่งเนื้อด้านนอกของต่อมโพรสเตตนี้เองที่เป็นบริเวณที่มี glandular acini เป็นส่วนใหญ่ แล้วหลอดเลือดแดงยังวิ่งเข้าไปด้านในซึ่งมีก้านแขนงของท่อต่อมโพรสเตตอยู่ และไปสิ้นสุดบริเวณโคนของท่อหลักของต่อมโพรสเตต (ซึ่งท่อหลักนี้ก็จะเปิดเข้าสู่ท่อปัสสาวะ) อีก 1-2 แขนงที่เหลือก็จะไปเลี้ยงส่วนของ membranous urethra และ prostatic urethra แขนงที่ 3 ของ anterior division of internal iliac artery คือ internal pudendal artery หลอดเลือดหลักที่หนึ่งและสองมักจะเชื่อมกัน โดยเรียกหลอดเลือดที่ เชื่อมกันนี้ว่า marginal branch of superior vesical artery หลอดเลือดแดงแขนงนี้ จะแตกให้แขนงย่อย ๆ หลายแขนง โดยส่วนหนึ่งของแขนงเหล่านี้จะไปเลี้ยงบริเวณด้าน greater curvature และด้าน posteromedial ของเซมินอลเวสสิเคิล อีกสองแขนงที่เหลือ จะไปเลี้ยงบริเวณส่วนหน้าของ anteroventral lobe ของต่อมโพรสเตต หลอดเลือดแดงที่ ไปเลี้ยงเซมินอลเวสสิเคิลและต่อมโพรสเตต จะแตกแขนงเป็นหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ๆ แล้ว ค่อย ๆ ลดขนาดลงจนในที่สุดแตกให้เป็นหลอดเลือดฝอย หลอดเลือดฝอยของทั้งเซมินอลเวสสิเคิล และของต่อมโพรสเตตเป็นแบบไม่มีรูพรุนที่ผนัง มักจะเห็นหลอดเลือดดำใหญ่วิ่งแนบสวนทางไป กับหลอดเลือดแดง มักพบการเชื่อมต่อกันของหลอดเลือดดำทั้งในเซมินอลเวสสิเคิล และต่อม โพรสเตต หลอดเลือดดำใหญ่ของเซมินอลเวสสิเคิล และต่อมโพรสเตตจะเปิดเข้าสู่ internal iliac vein ลักษณะของรูปแบบของการแตกแขนงของหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงต่อมโพรสเตต ของกระแตจะเหมือนในมนุษย์ แต่แตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับหนู rat ซึ่งจะมีรูปแบบ ที่เริ่มต้นจากโคนท่อหลักของต่อมโพรสเตตแล้วแตกแขนงเป็นแขนงย่อยไปตามกิ่งก้านของท่อย่อย และสิ้นสุดที่ส่วนปลายยอด (glandular acini)
เมื่อฉีดสารพลาสติกเข้าแทนที่เลือดในหลอดของกระแต แล้วนำโครงหลอดเลือดใน เซมินอลเวสสิเคิล และในต่อมโพรสเตตมาศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ และจุลทรรศน์อิเล็กตรอน แบบส่องกราด พบว่า anterior division of internal iliac artery จะแนกเป็นแขนง ใหญ่ 3 แขนง แขนงแรกชื่อ superior vesical artery แขนงแรกนี้จะแตกเป็นแขนงย่อยอีก 5 แขนง และจะเรียกชื่อตามอวัยวะที่แขนงนั้น ๆ ไปเลี้ยงตามลำดับได้แก่ urinary branch, ureter branch, branch to vas deferens, branch to ampulla of vas deferens และ urethral branch โดยแขนงสุดท้ายนี่เองที่จะวิ่งเข้าไปเลี้ยงทางด้าน medial ของเซมินอลเวสสิเคิล จึงตั้งชื่อแขนงนี้ว่า seminal vesicle artery แขนงที่สอง ของ anterior division of internal iliac artery ชื่อ inferior vesical artery ซึ่งจะแตกให้ 5-7 แขนงย่อย โดย 5-6 แขนงไปเลี้ยงผิวของด้านบน และด้านล่างของต่อม โพรสเตต ซึ่งเนื้อด้านนอกของต่อมโพรสเตตนี้เองที่เป็นบริเวณที่มี glandular acini เป็นส่วนใหญ่ แล้วหลอดเลือดแดงยังวิ่งเข้าไปด้านในซึ่งมีก้านแขนงของท่อต่อมโพรสเตตอยู่ และไปสิ้นสุดบริเวณโคนของท่อหลักของต่อมโพรสเตต (ซึ่งท่อหลักนี้ก็จะเปิดเข้าสู่ท่อปัสสาวะ) อีก 1-2 แขนงที่เหลือก็จะไปเลี้ยงส่วนของ membranous urethra และ prostatic urethra แขนงที่ 3 ของ anterior division of internal iliac artery คือ internal pudendal artery หลอดเลือดหลักที่หนึ่งและสองมักจะเชื่อมกัน โดยเรียกหลอดเลือดที่ เชื่อมกันนี้ว่า marginal branch of superior vesical artery หลอดเลือดแดงแขนงนี้ จะแตกให้แขนงย่อย ๆ หลายแขนง โดยส่วนหนึ่งของแขนงเหล่านี้จะไปเลี้ยงบริเวณด้าน greater curvature และด้าน posteromedial ของเซมินอลเวสสิเคิล อีกสองแขนงที่เหลือ จะไปเลี้ยงบริเวณส่วนหน้าของ anteroventral lobe ของต่อมโพรสเตต หลอดเลือดแดงที่ ไปเลี้ยงเซมินอลเวสสิเคิลและต่อมโพรสเตต จะแตกแขนงเป็นหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ๆ แล้ว ค่อย ๆ ลดขนาดลงจนในที่สุดแตกให้เป็นหลอดเลือดฝอย หลอดเลือดฝอยของทั้งเซมินอลเวสสิเคิล และของต่อมโพรสเตตเป็นแบบไม่มีรูพรุนที่ผนัง มักจะเห็นหลอดเลือดดำใหญ่วิ่งแนบสวนทางไป กับหลอดเลือดแดง มักพบการเชื่อมต่อกันของหลอดเลือดดำทั้งในเซมินอลเวสสิเคิล และต่อม โพรสเตต หลอดเลือดดำใหญ่ของเซมินอลเวสสิเคิล และต่อมโพรสเตตจะเปิดเข้าสู่ internal iliac vein ลักษณะของรูปแบบของการแตกแขนงของหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงต่อมโพรสเตต ของกระแตจะเหมือนในมนุษย์ แต่แตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับหนู rat ซึ่งจะมีรูปแบบ ที่เริ่มต้นจากโคนท่อหลักของต่อมโพรสเตตแล้วแตกแขนงเป็นแขนงย่อยไปตามกิ่งก้านของท่อย่อย และสิ้นสุดที่ส่วนปลายยอด (glandular acini)
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Anatomy
Degree Grantor(s)
Mahidol University